Business Computer Program, Faculty of Management science, Surindra Rajabhat University, Surin, Thailand 32000
วันจันทร์ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2552
The Management of Rajabhat Universities toward Internationalization
The Management of Rajabhat Universities toward Internationalization
Prapaporn Boonplord
The Important Background of the Problem
Since the technological progress, free trade, and international
investment have recently played important roles of stimulating to develop a
country in the Information Age, the government of several countries realizes
the importance of higher education. Then, they have increasingly encouraged
students to get educated at schools and universities abroad for their broader
perspective and in‐depth understanding of culture, custom, including
multilingual communication ability and international business. According to
the statistics of OECD, British Council, and IDP Education Australia, the
overseas study shows the greater economic tendency and opportunity. In
2003, the number of university students studying abroad was approximately 2.12
million, a number which is projected to increase to 8 million by 2025. This would
be roughly a three-fold increase over the next 20 years, so in Thailand, we are
interested in developing and strengthening the potential and capacity of
international university education service in terms of quality and quantity. It
will help improve the potential of international education service to be
readily liberalized with regard to General Agreement on Trade in Services
(GATS) of World Trade Organization (WTO). In 2003, most member countries
demanded the higher education to be the first product of the 2006 free‐trade
opening which would lead to the high competition of international education
business. And, according to Department of Export Promotion, Ministry of
Commerce (2005), the information shows “the international education
business, which has the high potential in Thailand, should be supported
because it will possibly bring a great number of incomes into the country.”
Therefore, this supporting will help and reinforce Thailand’s role of an
educational center for sub‐regional and regional levels, including directly
benefit the manufacturing sector of the entire country. And, especially the
industry and core strategy service will be able to do an open business, and to
network with the production department of other kinds of industry in the
regional level and global market efficiently. Finally, the dimension of
education will be internalized.
Because GATS assigned the WTO member countries to gradually open
so many service markets of each area including education with negotiating
every 5 years that they can finally have the free service markets, those
markets will eventually be guaranteed by adhering to the member countries’
obligations under GATS. Also, the owners’ overseas institutions, teachers,
foreign lecturers, and students from each member country can be certain that
the member countries will not definitely set their limitation for the service
market opening that exceeds the obligations. Apart from the market opening
under the framework of WTO, Department of Trade Negotiations in Thailand is
still negotiating the market opening under the framework of ASEAN and FTA
with some different countries, China, India, Australia, Bahrain, and Japan.
Their negotiation is to ask these countries to open the market for Thailand
while they are trying to negotiate and convince them that the market opening
of Thailand will be very beneficial for most Thais.
According to Matichon Newspaper (July 30, 2005), Association of
Institutional Research and Education Development (AIRHED) President Dr.
Wijit Srisa‐arn stated in the academic conference of AIRHED on research for
national institutions that to build the capability of Thai education competition in
era of change, the strategy and approach of Thai higher education reformation
must have been set by producing and developing educated workers. Also, MD
Charas Suwannawela, Chairman of the Thailand Research Fund stated at the same
conference that opening the free education was inevitable because the education
has provided many services as the products, such as quality assurance,
examination, and etc. Thus, the free trade opening is not quite business, but
international education and co-operation for developing graduates. Moreover, the
current Thai government should necessarily launch non-compulsory education,
such as Thai cooking school, music, dancing, boxing, language, arts and crafts,
massage, and spa into the world market of education.
Thai universities have redirected themselves to be ready for what is about
to happen in Thai education because Office of the Higher Education Commission
set the 15-year education plans No.1 (1990-2004) and No.2 (2000-2014) to
develop the internalization of the Thai higher education and regional opening
which lead to the rapid expansion of international curricula in the Thai
universities. In addition, the education plans No. 7 (1992-1996), No. 8 (1997-
2001), and No. 9 (2002-2006) were set to maintain the internalization of Thai
universities by supporting Thailand to be the educational center of ASEAN,
determining the policy of developing Thai higher education and opening for
Internalization-Regionalization, and building the competition capability of
creating the long-term self-reliance learning society by the Thai wisdom approach
(Office of the Higher Education Commission 1997, 2001, 2003).
As mentioned earlier that the Internalization-Regionalization of Thai higher
education, Office of the Higher Education Commission consequently sees its
importance and focuses on enhancing the standard and performance of higher
education institutions for the international standard level of academia and lesson
plans to be able to educate foreign students with the standard quality. The policy
of supporting Thailand to be the educational center of ASEAN in the 15-year
education plan (1990-2004), No. 7, and No.8 was also set in the education plan
No. 9 (2002-2006) with the standard. Apart from the Office of the Higher
Education Commission’s support, the government has supported the international
education by centralizing Thailand in ASEAN and offering the free trade of
education in services regarding GATS. This leads to many more competitions of
international education business in Thailand, and also increasingly raises the
development level of Thailand’s capability in terms of higher education to the
international level (Office of the Higher Education Commission 2001, 2004).
Rajabhat Universities, where were formerly called Rajabhat Institutes, are
universities for the regional development under the Office of the Higher Education
Commission and the same university system in Thailand. The word “Rajabhat”
which is part of the compound word “Rajabhat University” means “servant of the
motherland or man of the King.” His Majesty King BHUMIBOL ADULYADEJ
of Thailand graciously analyzed and bestowed this word, and also granted
permission to use his Royal Emblem as the symbol of the institute, so all of the 41
Rajabhat universities are formed completely to educate and guide students to be
able to save Thailand from power possession and ignorance. Due to this
universities’ duty, the universities crucially focus on the education that truly
contributes a great advantage and development to the country, that is, they must
search for and apply a new idea and theory that follow his Royal Thought. His
Royal words, which inspire the universities’ principle, are that the true purpose of
education is to contribute the knowledge, thought, including healthy characteristic
and mind to enable an educator to live their safe and peaceful life. Also, they will
be able to practice as many of their good deeds for themselves and other people as
they can. Thus, all of the people who get involved with education should focus on
developing the education only with regard to this purpose (Office of Rajabhat
Institutes Council 2002:12).
To meet his Royal words, the Rajabhat universities formed the higher
education by applying the universities’ main principle and the new theory to
develop the region and country. This will strengthen and maintain the country’s
intellect, and also use the advantages of natural resources and environment in the
country with harmony and sustainability to lead to setting the important duties of
the universities. Before undergoing the name change and gaining the Act of
Rajabhat University since 2004, Rajabhat universities were previously rooted by
the Acts of Teacher College and Rajabhat Institute. The Act of Teacher College
was to form teacher colleges as research and academic institutes where aimed to
educate and produce teachers with the Bachelor’s degree, to do a research, to
support the profession and academic standard of teachers, lecturers, officials, and
education administrator, to maintain culture, and to serve people academia in the
society (Department of Teacher Education 1991:1). The Act of Rajabhat Institute
was to form Rajabhat institutes as universities to develop the regions with the
purposes of offering academia and advanced diploma. In addition, the universities
aimed to do a research, serve people academia in the society, improve and provide
technologies, maintain art and culture, produce teachers, and support the academic
standard of teachers respectively (Division of Teacher Education 1997: 2).
Currently, Rajabhat institutes changed into Rajabhat universities where have been
administrated under the Act of Rajabhat University of the year 2004. The
universities mainly aim to develop the regions where reinforce the country’s
intellect, recover learning, praise the local wisdom, and create arts for the strong
and long-last progress of people in the country. Moreover, they can participate in
managing, maintaining, and utilizing the advantages of natural resources and
environment with harmony and sustainability. As well, they purpose to educate
people, encourage academia and advanced diploma, do teaching and a research,
serve people academia in the society, improve and provide technologies, maintain
art and culture, produce teachers, and support the teachers’ academic standard (the
Act of Rajabhat University 2004: 2).
To direct Rajabhat universities to be international universities not only sets
the prudential vision and idea, but also the mission which is required to follow the
Act of Rajabhat University of the year 2004. Consequently, Rajabhat universities
must focus on the education management and production of graduates with the
excellent knowledge and ability by using the education management methods,
such as developing the curricula, and etc. They must also maintain art and culture
by contributing knowledge and serving people art and culture in the society, and
must simultaneously manage academia in services for the society. Furthermore,
Rajabhat universities have the very vital missions that are to produce teachers and
the academic standard of teachers and to develop all the methods of encouraging
the teachers to publish their academic and creative researches, promoting their
ethics and morals, and maintaining their venerability. Directing Rajabhat
universities to be international universities without the prudential vision, mission,
or any exact directions used for the purpose of strategy, development, and
practical plans will cause the management problem and disruption, and
uncontrollable graduate production. Hence, they must necessarily set how the
management purpose can proceeded to reach the achievement. When they can set
it clearly, the universities’ management will certainly become potential and
successful. According to the study, if Rajabhat universities are successfully
directed to be internalized in the future, they will eventually become the genuine
university. Because the educational researchers are interested and curious that the
Rajabhat President, Vice President, Dean, Associate Dean, and management team
play such the important and great roles of directing the universities to reach the
achievement, Legislative Department presently allows the Act of Rajabhat
University of the year 2004 to become effective and to set the missions for
Rajabhat universities. However, to succeed in directing Rajabhat universities
raises some questions which are what they can do to reach the achievement, what
the pattern they should have, and how they should manage their own resources,
people, budget, and academic plan to be able to be successful. And, if the
perspectives’ former successful knowledgeable people and executives at Rajabhat
are studied, they will probably lead to thinking, analyzing, and developing the
management of Rajabhat universities under the new laws that each Rajabhat can
use to manage their own university to be internalized finally. Therefore, the
purpose of this research is to present the effective methods of management which
follow the good government management, and to succeed in the Rajabhat
university management to continue the internalization steadily and sustainably.
The important missions previously mentioned force Rajabhat universities to
set the new direction of management which will lead the universities to the
purpose planned, and provide a great number of advantages to the country as the
Act of National Education of the year 1999 and the Act additionally corrected (No.
2) of the year 2002 states especially in the section 6 that Thais need to get
improved and educated to be knowledgeable, ethical, and to be able to live in the
society happily (Office of the Higher Education Commission 2002: 5). To be able
to live in the country truly happily, we need to make people living only in a region
happy. This is the very important mission of Rajabhat universities. The word
“region” describes the characteristic of the society, especially the one at the
regional level, villages, districts, provinces, or any parts of the country. Also, to be
able to make people in the society or region happy needs the education
management because it is one important factor that can make them in that place
live together happily. Thus, the government realizes that the word “region” is
important. They have to think if all regions in the country are progressive or
developed, the country where is the national center will get developed too. Then,
to be able to develop the country also needs to depend on an educational institute.
From this viewpoint, the government changed the status of all 41 Rajabhat
institutes in the entire country into universities because being a university in the
region will present the close relationship to people in the region, and will develop
that area through the way planned. Also the universities truly and deeply know
about the condition, environment, and truth of that area. Therefore, that the
government supports the education management by changing Rajabhat institutes
of each province in all parts of the country into universities makes them see the
flexibility which can be used to develop and support the local wisdom with the
possibly high potential.
To be able to make Rajabhat universities potential and meet the need and
problem of the region really needs an administrator who can decide how they will
manage the region to follow the policy of the Act of Education of the year 2004.
And, to succeed in managing the Rajabhat universities with their planned purpose
is to be able to manage them effectively and differently from Rajabhat institutes’
planned vision, mission, pointer, purpose, strategy, activity, and budget. That the
vision of Rajabhat universities management is set under the Act of Rajabhat
University of the year 2004 is the future picture of what way the universities will
be directed to reach the highest achievement of being the universities for the
region development. Somkieat Pongpaiboon (2003:1-2) mentioned that the
characteristics of the universities for the region development consist of identity
which is related to the management focusing on the importance of Rajabhat
universities. Therefore, Rajabhat universities are directed along with the
environment relation, that is, their characteristics are related with the community
‘s assistance, and based on the community’s trust. They are a problem center
where searches for the local wisdom and continues on using it to solve the
problem. And, they create the new knowledge themselves by selecting and
screening the wisdom and science to solve the problem. Then, the importance
leading to the success conforms to the good management. For example, Sirot
Ponlap (2001:3-5) used it to be a guide of developing Suan Dusit Rajabhat
institutes until he could reach the achievement. He mainly held the goal or purpose
of the institute by setting the future scenario, vision, or look clearly. That is, he
changed his attitude of considering the employees as the institute’s resources into
as human beings. He changed the way to use an individual into team to manage
the institute. He also changed the vertical management into the horizontal one.
Previously, he had focused on an employer, but instead he changed to focus on the
process by using information technology for the management. He had emphasized
on the evaluation, but he changed to focus on the development. Likewise, he used
to focus on efficiency, but he focused on effectiveness instead. As a result, this
idea of management should be used to manage Rajabhat universities, and can
make the management effective truly. And, if the executives of the universities
have the clear future vision of the management, the management will certainly be
successful and effective before the efficiency will happen. Finally, Rajabhat
universities will be able to be international.
To manage Rajabhat universities, apart from setting the clear future vision,
needs to set the mission under the Act of Rajabhat University of the year 2004. In
a conclusion, Rajabhat universities must aim to manage the education and educate
the graduates to gain the knowledge, ability, and superiority by using the pattern
of education management, such as the curriculum development, and etc. Rajabhat
universities must maintain art and culture by contributing the knowledge to people
in the society, and serving them art and culture. This should be committed along
with the academic management in services for the society. The universities have
the very crucial mission, such as producing teachers and the academic standard of
teachers, and developing all the ways to encourage the teachers to publish their
academic and creative work, to be ethical and moral, and to be able to behave
themselves as venerable teachers. If Rajabhat universities are managed without
any directions, visions, and set missions, and without any purposes set for strategy,
development, and action plans, there will be the problematic management which
will cause the disruption and uncontrollable graduate production. Thus, Rajabhat
universities really need to set their own purpose, or to set how the management
purpose can be successful. When the universities clearly set the purpose, the
management will definitely result in the potential management of the universities,
and lead to the universities’ goal to turn them into international universities
finally.
The strategy is the main principle of management because the idea from
information news will lead to screening and setting the vision, mission, and
purpose. This strategy is performed to develop the plan consecutively. If Rajabhat
universities do not set the ideas for the strategy, development, and action plans, the
management will not be able to be successful as they want. However, the
management needs information news to be a chief information officer. And, the
data integration needs to have a chief operation officer who can make a good
decision of the management because they who manage these Rajabhat universities
will report or file information news, management information, or action
information to the top executives of the universities. The top executives have the
power to make a decision to lead the universities to where they want. The reason
that the executives can decide for the management themselves is the universities
are the education institutes where are the corporation. Thus, we can say that
managing Rajabhat universities under the Act of Rajabhat University of the year
2004 is the management process to meet the successful purpose, vision, mission,
and strategy, development, and action plans. This follows all of the policies of the
universities and the Act of National Education, including the Act of Rajabhat
University. Therefore, setting the vision, mission, purpose, policy, and important
principle is to make the management flexible, which is related with budgeting in
terms of performance base budgeting that is beneficial to the management of
Rajabhat universities very well.
วันพฤหัสบดีที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2552
The Management of Rajabhat Universities toward Internationalization
The Management of Rajabhat Universities toward Internationalization
Prapaporn Boonplord
The Important Background of the Problem
Since the technological progress, free trade, and international
investment have recently played important roles of stimulating to develop a
country in the Information Age, the government of several countries realizes
the importance of higher education. Then, they have increasingly encouraged
students to get educated at schools and universities abroad for their broader
perspective and in‐depth understanding of culture, custom, including
multilingual communication ability and international business. According to
the statistics of OECD, British Council, and IDP Education Australia, the
overseas study shows the greater economic tendency and opportunity. In
2003, the number of university students studying abroad was approximately 2.12
million, a number which is projected to increase to 8 million by 2025. This would
be roughly a three-fold increase over the next 20 years, so in Thailand, we are
interested in developing and strengthening the potential and capacity of
international university education service in terms of quality and quantity. It
will help improve the potential of international education service to be
readily liberalized with regard to General Agreement on Trade in Services
(GATS) of World Trade Organization (WTO). In 2003, most member countries
demanded the higher education to be the first product of the 2006 free‐trade
opening which would lead to the high competition of international education
business. And, according to Department of Export Promotion, Ministry of
Commerce (2005), the information shows “the international education
business, which has the high potential in Thailand, should be supported
because it will possibly bring a great number of incomes into the country.”
Therefore, this supporting will help and reinforce Thailand’s role of an
educational center for sub‐regional and regional levels, including directly
benefit the manufacturing sector of the entire country. And, especially the
industry and core strategy service will be able to do an open business, and to
network with the production department of other kinds of industry in the
regional level and global market efficiently. Finally, the dimension of
education will be internalized.
Because GATS assigned the WTO member countries to gradually open
so many service markets of each area including education with negotiating
every 5 years that they can finally have the free service markets, those
markets will eventually be guaranteed by adhering to the member countries’
obligations under GATS. Also, the owners’ overseas institutions, teachers,
foreign lecturers, and students from each member country can be certain that
the member countries will not definitely set their limitation for the service
market opening that exceeds the obligations. Apart from the market opening
under the framework of WTO, Department of Trade Negotiations in Thailand is
still negotiating the market opening under the framework of ASEAN and FTA
with some different countries, China, India, Australia, Bahrain, and Japan.
Their negotiation is to ask these countries to open the market for Thailand
while they are trying to negotiate and convince them that the market opening
of Thailand will be very beneficial for most Thais.
According to Matichon Newspaper (July 30, 2005), Association of
Institutional Research and Education Development (AIRHED) President Dr.
Wijit Srisa‐arn stated in the academic conference of AIRHED on research for
national institutions that to build the capability of Thai education competition in
era of change, the strategy and approach of Thai higher education reformation
must have been set by producing and developing educated workers. Also, MD
Charas Suwannawela, Chairman of the Thailand Research Fund stated at the same
conference that opening the free education was inevitable because the education
has provided many services as the products, such as quality assurance,
examination, and etc. Thus, the free trade opening is not quite business, but
international education and co-operation for developing graduates. Moreover, the
current Thai government should necessarily launch non-compulsory education,
such as Thai cooking school, music, dancing, boxing, language, arts and crafts,
massage, and spa into the world market of education.
Thai universities have redirected themselves to be ready for what is about
to happen in Thai education because Office of the Higher Education Commission
set the 15-year education plans No.1 (1990-2004) and No.2 (2000-2014) to
develop the internalization of the Thai higher education and regional opening
which lead to the rapid expansion of international curricula in the Thai
universities. In addition, the education plans No. 7 (1992-1996), No. 8 (1997-
2001), and No. 9 (2002-2006) were set to maintain the internalization of Thai
universities by supporting Thailand to be the educational center of ASEAN,
determining the policy of developing Thai higher education and opening for
Internalization-Regionalization, and building the competition capability of
creating the long-term self-reliance learning society by the Thai wisdom approach
(Office of the Higher Education Commission 1997, 2001, 2003).
As mentioned earlier that the Internalization-Regionalization of Thai higher
education, Office of the Higher Education Commission consequently sees its
importance and focuses on enhancing the standard and performance of higher
education institutions for the international standard level of academia and lesson
plans to be able to educate foreign students with the standard quality. The policy
of supporting Thailand to be the educational center of ASEAN in the 15-year
education plan (1990-2004), No. 7, and No.8 was also set in the education plan
No. 9 (2002-2006) with the standard. Apart from the Office of the Higher
Education Commission’s support, the government has supported the international
education by centralizing Thailand in ASEAN and offering the free trade of
education in services regarding GATS. This leads to many more competitions of
international education business in Thailand, and also increasingly raises the
development level of Thailand’s capability in terms of higher education to the
international level (Office of the Higher Education Commission 2001, 2004).
Rajabhat Universities, where were formerly called Rajabhat Institutes, are
universities for the regional development under the Office of the Higher Education
Commission and the same university system in Thailand. The word “Rajabhat”
which is part of the compound word “Rajabhat University” means “servant of the
motherland or man of the King.” His Majesty King BHUMIBOL ADULYADEJ
of Thailand graciously analyzed and bestowed this word, and also granted
permission to use his Royal Emblem as the symbol of the institute, so all of the 41
Rajabhat universities are formed completely to educate and guide students to be
able to save Thailand from power possession and ignorance. Due to this
universities’ duty, the universities crucially focus on the education that truly
contributes a great advantage and development to the country, that is, they must
search for and apply a new idea and theory that follow his Royal Thought. His
Royal words, which inspire the universities’ principle, are that the true purpose of
education is to contribute the knowledge, thought, including healthy characteristic
and mind to enable an educator to live their safe and peaceful life. Also, they will
be able to practice as many of their good deeds for themselves and other people as
they can. Thus, all of the people who get involved with education should focus on
developing the education only with regard to this purpose (Office of Rajabhat
Institutes Council 2002:12).
To meet his Royal words, the Rajabhat universities formed the higher
education by applying the universities’ main principle and the new theory to
develop the region and country. This will strengthen and maintain the country’s
intellect, and also use the advantages of natural resources and environment in the
country with harmony and sustainability to lead to setting the important duties of
the universities. Before undergoing the name change and gaining the Act of
Rajabhat University since 2004, Rajabhat universities were previously rooted by
the Acts of Teacher College and Rajabhat Institute. The Act of Teacher College
was to form teacher colleges as research and academic institutes where aimed to
educate and produce teachers with the Bachelor’s degree, to do a research, to
support the profession and academic standard of teachers, lecturers, officials, and
education administrator, to maintain culture, and to serve people academia in the
society (Department of Teacher Education 1991:1). The Act of Rajabhat Institute
was to form Rajabhat institutes as universities to develop the regions with the
purposes of offering academia and advanced diploma. In addition, the universities
aimed to do a research, serve people academia in the society, improve and provide
technologies, maintain art and culture, produce teachers, and support the academic
standard of teachers respectively (Division of Teacher Education 1997: 2).
Currently, Rajabhat institutes changed into Rajabhat universities where have been
administrated under the Act of Rajabhat University of the year 2004. The
universities mainly aim to develop the regions where reinforce the country’s
intellect, recover learning, praise the local wisdom, and create arts for the strong
and long-last progress of people in the country. Moreover, they can participate in
managing, maintaining, and utilizing the advantages of natural resources and
environment with harmony and sustainability. As well, they purpose to educate
people, encourage academia and advanced diploma, do teaching and a research,
serve people academia in the society, improve and provide technologies, maintain
art and culture, produce teachers, and support the teachers’ academic standard (the
Act of Rajabhat University 2004: 2).
To direct Rajabhat universities to be international universities not only sets
the prudential vision and idea, but also the mission which is required to follow the
Act of Rajabhat University of the year 2004. Consequently, Rajabhat universities
must focus on the education management and production of graduates with the
excellent knowledge and ability by using the education management methods,
such as developing the curricula, and etc. They must also maintain art and culture
by contributing knowledge and serving people art and culture in the society, and
must simultaneously manage academia in services for the society. Furthermore,
Rajabhat universities have the very vital missions that are to produce teachers and
the academic standard of teachers and to develop all the methods of encouraging
the teachers to publish their academic and creative researches, promoting their
ethics and morals, and maintaining their venerability. Directing Rajabhat
universities to be international universities without the prudential vision, mission,
or any exact directions used for the purpose of strategy, development, and
practical plans will cause the management problem and disruption, and
uncontrollable graduate production. Hence, they must necessarily set how the
management purpose can proceeded to reach the achievement. When they can set
it clearly, the universities’ management will certainly become potential and
successful. According to the study, if Rajabhat universities are successfully
directed to be internalized in the future, they will eventually become the genuine
university. Because the educational researchers are interested and curious that the
Rajabhat President, Vice President, Dean, Associate Dean, and management team
play such the important and great roles of directing the universities to reach the
achievement, Legislative Department presently allows the Act of Rajabhat
University of the year 2004 to become effective and to set the missions for
Rajabhat universities. However, to succeed in directing Rajabhat universities
raises some questions which are what they can do to reach the achievement, what
the pattern they should have, and how they should manage their own resources,
people, budget, and academic plan to be able to be successful. And, if the
perspectives’ former successful knowledgeable people and executives at Rajabhat
are studied, they will probably lead to thinking, analyzing, and developing the
management of Rajabhat universities under the new laws that each Rajabhat can
use to manage their own university to be internalized finally. Therefore, the
purpose of this research is to present the effective methods of management which
follow the good government management, and to succeed in the Rajabhat
university management to continue the internalization steadily and sustainably.
The important missions previously mentioned force Rajabhat universities to
set the new direction of management which will lead the universities to the
purpose planned, and provide a great number of advantages to the country as the
Act of National Education of the year 1999 and the Act additionally corrected (No.
2) of the year 2002 states especially in the section 6 that Thais need to get
improved and educated to be knowledgeable, ethical, and to be able to live in the
society happily (Office of the Higher Education Commission 2002: 5). To be able
to live in the country truly happily, we need to make people living only in a region
happy. This is the very important mission of Rajabhat universities. The word
“region” describes the characteristic of the society, especially the one at the
regional level, villages, districts, provinces, or any parts of the country. Also, to be
able to make people in the society or region happy needs the education
management because it is one important factor that can make them in that place
live together happily. Thus, the government realizes that the word “region” is
important. They have to think if all regions in the country are progressive or
developed, the country where is the national center will get developed too. Then,
to be able to develop the country also needs to depend on an educational institute.
From this viewpoint, the government changed the status of all 41 Rajabhat
institutes in the entire country into universities because being a university in the
region will present the close relationship to people in the region, and will develop
that area through the way planned. Also the universities truly and deeply know
about the condition, environment, and truth of that area. Therefore, that the
government supports the education management by changing Rajabhat institutes
of each province in all parts of the country into universities makes them see the
flexibility which can be used to develop and support the local wisdom with the
possibly high potential.
To be able to make Rajabhat universities potential and meet the need and
problem of the region really needs an administrator who can decide how they will
manage the region to follow the policy of the Act of Education of the year 2004.
And, to succeed in managing the Rajabhat universities with their planned purpose
is to be able to manage them effectively and differently from Rajabhat institutes’
planned vision, mission, pointer, purpose, strategy, activity, and budget. That the
vision of Rajabhat universities management is set under the Act of Rajabhat
University of the year 2004 is the future picture of what way the universities will
be directed to reach the highest achievement of being the universities for the
region development. Somkieat Pongpaiboon (2003:1-2) mentioned that the
characteristics of the universities for the region development consist of identity
which is related to the management focusing on the importance of Rajabhat
universities. Therefore, Rajabhat universities are directed along with the
environment relation, that is, their characteristics are related with the community
‘s assistance, and based on the community’s trust. They are a problem center
where searches for the local wisdom and continues on using it to solve the
problem. And, they create the new knowledge themselves by selecting and
screening the wisdom and science to solve the problem. Then, the importance
leading to the success conforms to the good management. For example, Sirot
Ponlap (2001:3-5) used it to be a guide of developing Suan Dusit Rajabhat
institutes until he could reach the achievement. He mainly held the goal or purpose
of the institute by setting the future scenario, vision, or look clearly. That is, he
changed his attitude of considering the employees as the institute’s resources into
as human beings. He changed the way to use an individual into team to manage
the institute. He also changed the vertical management into the horizontal one.
Previously, he had focused on an employer, but instead he changed to focus on the
process by using information technology for the management. He had emphasized
on the evaluation, but he changed to focus on the development. Likewise, he used
to focus on efficiency, but he focused on effectiveness instead. As a result, this
idea of management should be used to manage Rajabhat universities, and can
make the management effective truly. And, if the executives of the universities
have the clear future vision of the management, the management will certainly be
successful and effective before the efficiency will happen. Finally, Rajabhat
universities will be able to be international.
To manage Rajabhat universities, apart from setting the clear future vision,
needs to set the mission under the Act of Rajabhat University of the year 2004. In
a conclusion, Rajabhat universities must aim to manage the education and educate
the graduates to gain the knowledge, ability, and superiority by using the pattern
of education management, such as the curriculum development, and etc. Rajabhat
universities must maintain art and culture by contributing the knowledge to people
in the society, and serving them art and culture. This should be committed along
with the academic management in services for the society. The universities have
the very crucial mission, such as producing teachers and the academic standard of
teachers, and developing all the ways to encourage the teachers to publish their
academic and creative work, to be ethical and moral, and to be able to behave
themselves as venerable teachers. If Rajabhat universities are managed without
any directions, visions, and set missions, and without any purposes set for strategy,
development, and action plans, there will be the problematic management which
will cause the disruption and uncontrollable graduate production. Thus, Rajabhat
universities really need to set their own purpose, or to set how the management
purpose can be successful. When the universities clearly set the purpose, the
management will definitely result in the potential management of the universities,
and lead to the universities’ goal to turn them into international universities
finally.
The strategy is the main principle of management because the idea from
information news will lead to screening and setting the vision, mission, and
purpose. This strategy is performed to develop the plan consecutively. If Rajabhat
universities do not set the ideas for the strategy, development, and action plans, the
management will not be able to be successful as they want. However, the
management needs information news to be a chief information officer. And, the
data integration needs to have a chief operation officer who can make a good
decision of the management because they who manage these Rajabhat universities
will report or file information news, management information, or action
information to the top executives of the universities. The top executives have the
power to make a decision to lead the universities to where they want. The reason
that the executives can decide for the management themselves is the universities
are the education institutes where are the corporation. Thus, we can say that
managing Rajabhat universities under the Act of Rajabhat University of the year
2004 is the management process to meet the successful purpose, vision, mission,
and strategy, development, and action plans. This follows all of the policies of the
universities and the Act of National Education, including the Act of Rajabhat
University. Therefore, setting the vision, mission, purpose, policy, and important
principle is to make the management flexible, which is related with budgeting in
terms of performance base budgeting that is beneficial to the management of
Rajabhat universities very well.
วันพฤหัสบดีที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2552
Medieval Universities
มหาวิทยาลัยในยุคกลาง Medieval University
ความหมายของ Medieval University คือความเป็นมหาวิทยาลัยในยุคกลาง ในต้นสมัยกลาง การศึกษาได้มีการนำเสนอหลักให้มีการจัดการเรียนการสอนโดยเริ่มจากพระสงฆ์และฆารวาส ก่อนศตวรรษที่ 5 -6 การศึกษาได้มีวิวัฒนการมาจากยุคคลาสสิก ทั้งนี้การศึกษาในยุคกลางได้ดำเนินการจัดการเรียนการสอนหลักในโบสถ์และโรงเรียน monastry หรือในบ้านส่วนตัวของคนรวย ส่วนหนึ่งของการเกิดของโบสถ์และโรงเรียน monastry นั้นเกี่ยวกับการปฏิรูปการเรียนการสอน โดยมีการจัดการศึกษาหลักสูตรทั่วไปเกี่ยวกับศาสนา โดยมีนักวิชาการที่ต้องการจะเจาะลึกศึกษา ข้อความศักดิ์สิทธิ์จากบรรพบุรุษของคริสตจักรที่เรียกว่าอรรถกถา (patristic) แต่ขึ้นอยู่กับสถานที่ต่างภูมิภาคและองค์ประกอบของครูหลักสูตรของโรงเรียนโบสถ์ของพวกเขาจะแตกต่างกันอย่างกว้างขวาง ในการศึกษานอกจากจะเรียนเรื่องของศาสนาแล้วยังรวมถึงการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์และวิทยาศาสตร์อีกด้วย โดยปกติธรรมชาติของการจัดการเรียนการสอนในยุคกลาง โรงเรียนอื่นๆ ดำเนินการในทิศทางที่แตกต่างกันเช่น โรงเรียนในเมืองออเลียน ที่จัดการศึกษาแบบคลาสสิกโดยเรียนเฉพาะในวิชาคณิตศาสตร์และเพลง
สถาบันแรกของการศึกษาในตอนต้นของยุคกลางในยุโรปตะวันออก โดยมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งขึ้นในศตวรรษที่ 2 แต่เดิมในช่วงเวลาเดียวกันในเมืองเอเธนส์ การกำเนิดขึ้นของมหาวิทยาลัยเกี่ยวกับยุคกลางที่ถูกพระสันตะปาปา เขาออกพระราชกฤษฎีกาสันตะปาปาในปี1079 การสร้างโบสถ์ของโรงเรียนที่จะต้องมีผู้รับผิดชอบนั่นคือพระสงฆ์นั่นเอง พระราชกฤษฎีกานี้ในที่สุดนำไปเผยแพร่ในศูนย์การศึกษาที่พัฒนาในมหาวิทยาลัยในช่วงยุโรปสมัยกลาง ในประเทศอิตาลี มหาวิทยาลัยโบโลญญา ได้ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1088 ขณะที่มหาวิทยาลัยปารีส ภายใต้การสนับสนุนของ Robert Sorbon เป็นวิทยาลัยเกี่ยวกับธรรมชาติ หลังจากนั้นได้มีการเปลี่ยนแปลงและแบ่งออกเป็น การก่อตั้งมหาวิทยาลัยในยุคกลางในขณะนั้นประเทศอังกฤษได้มีมหาวิทยาลัยที่เริ่มก่อตั้ง เช่น มหาวิทยาลัยอ๊อกฟอร์ด (Oxford)ก่อตั้งขึ้นระหว่างปี ค।ศ। 1167-1185 และในปี ค।ศ। 1209 โรงเรียนแรกของมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ก่อตั้ง บางวิทยาลัยก่อนที่จะมีการเกิดรวม Balliol College ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1260 โดย John Balliol ในมหาวิทยาลัยอ๊อกฟอร์ด ก่อตั้งโดย Mary de เซนต์ Pol ภรรยาของเอิร์ลแห่ง Pembroke ในปี ค.ศ. 1347 และ Corpus Christi College ในปี ค.ศ. 1352 ในศตวรรษถัดไปวิทยาลัยเช่น King's College (ปี ค.ศ. 1441) และ Queen's College (ปี ค.ศ. 1448) ได้เพิ่ม Cambridge University
พัฒนาการของมหาวิทยาลัยในตะวันตก ในราวคริสตศตวรรษที่ 12-13 อันเป็นช่วงระยะเวลาที่คริสตศาสนากำลังรุ่งโรจน์ในยุคกลางนั้นได้มีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นหลายแห่ง เช่น โบโลญ่า ซาเลอร์โม เนเปิลส์ปาดัว ในอิตาลี่ ที่ปารีส ฝรั่งเศส มหาวิทยาลัยเหล่านี้อยู่บนพื้นฐานการจัดการศึกษาของคริสต์ศาสนา คือ ส่วนใหญ่ได้รับการปรับปรุงมาจากโรงเรียนมหาวิหาร (Episcopal School) อันเป็นสถานศึกษาของพระและฆารวาสที่สนใจ การศึกษาสมัยนั้นจะอยู่ในความดูแลของศาสนจักร โดยมีบุคลากรในคริสตศาสนา เช่น พระ บาทหลวง ที่ใช้อุดมการณ์ทางคริสตศาสนาเป็นหลักการในการจัดการศึกษาอย่างเช่นการจัดการศึกษาเบื้องต้นเพื่อสอนให้คนเป็นพลเมืองดี ก็จะเน้นเรื่องศรัทธาในพระเจ้ารวมทั้งเรื่องจริยธรรมตามหลักของคริสตศาสนา เพื่อให้สังคมอยู่เรื่องกันอย่างมีสันติสุข ส่วนการศึกษาในระดับสูงจะเน้นเรื่องเทววิทยา คือ การอภิปรายความคิดทางศาสนาขั้นลึกซึ้งเกี่ยวกับเรื่องของปรัชญา ความเชื่อ และข้อถกเถียงต่าง ๆ ของคริสตศาสนานอกจากนี้ยังมีการสอนด้านกฏหมาย อักษรศาสตร์และการแพทย์ วิชาเหล่านี้แม้จะเป็นพื้นฐานของการใช้เหตุผล แต่การเข้าถึงความเจริญต่าง ๆ ยังถูกครอบงำ โดยความคิดทางศาสนจักรมีข้อสังเกตว่าการศึกษาระดับสูงในสมัยโบราณนั้นจะเน้นที่ผู้ชาย ผู้หญิงแทบจะไม่มีบทบาทหรือส่วนในการเกี่ยวข้องในตอนปลายยุคกลางมีมหาวิทยาลัยเกิดขึ้นหลายแห่ง โดยมีกำเนิดในลักษณะที่ค่อยเป็นค่อยไปจะมีสถานที่ที่เกิดชุมชนหรือสถาบันที่เรียกว่า มหาวิทยาลัยอยู่ 2 แหล่งด้วยกัน คือ บริเวณทางใต้ของยุโรปที่ประเทศอิตาลี่ และทางเหนือของยุโรป คือ ฝรั่งเศส ทั้งนี้มหาวิทยาลัยในฝรั่งเศษซึ่งมีที่มาจากการรวมตัวของมหาวิหารของคริสตศาสนา
เมื่อประมาณคริสตศตวรรษที่ 12-13 ลักษณะการรวมตัวแบบนี้จะขยายสู่เมืองอื่น ๆ ในฝรั่งเศสและประเทศอื่น ๆ ในยุโรป เช่น ที่มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ดของอังกฤษ มหาวิทยาลัยไฮเดลเบอร์กในเยอรมัน แม้ในระยะแรกการศึกษาในมหาวิทยาลัยจะเน้นแต่พัฒนาการที่สำคัญในด้านการศึกษาตั้งแต่คริสตศตวรรษที่ 14เป็นต้นมาคือการศึกษาเกี่ยวกับมนุษย์ในด้านต่างๆ อันเป็นผลมาจากขบวนการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ คือนอกจากการทบทวนอารยธรรมกรีกและโรมันแล้วยังมีการรับอิทธิพลอารยธรรมอิสลามจากโลกอาหรับเข้ามา เช่น การใช้เลขอารบิคที่เราใช้ทุกวันนี้แทนเลขโรมัน ทั้งหมดที่กล่าวมาแล้วนั้นเป็นตัวอย่างการจัดการศึกษาในยุคกลางเป็นต้นมา
ทั้งนี้จะเห็นได้ว่า การดำเนินการจัดการเรียนการสอนตั้งแต่ในยุคกลางเป็นต้นมามีความสำคัญอย่างยิ่ง ถือได้ว่าเป็นการวิวัฒนาการจากอดีตจนถึงปัจจุบัน นอกจากมหาวิทยาลัยในยุคกลางที่ได้ให้ข้อมูลในเบื้องต้นแล้วนั้น ยังมีข้อมูลที่หลากหลายมากกว่านี้ เป็นต้นว่า มหาวิทยาลัยในยุคกลางของเอเชีย Medieval university (Asia) ซึ่งจะนำเสนอเพิ่มเติมในโอกาสต่อไป
ที่มา http://en.wikipedia.org/wiki/Medieval_university
แปลและเรียบเรียงโดย ประภาพร บุญปลอด
วันอังคารที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2552
แนวทางการพัฒนาการศึกษานานาชาติระดับอุดมศึกษา
จากเวปไซต์วิชาการดอมคอม มีการเขียนบทความทางการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องของการศึกษานานาชาติ ในอนาตคไว้ดังนี้
คาดว่าในปี 2550 จะมีหลักสูตรนานาชาติระดับอุดมศึกษาเปิดใหม่อีกเป็นจำนวนมาก เพื่อหวังยกระดับให้เทียบเท่ากับต่างชาติและสามารถแข่งขันได้ภายใต้ข้อตกลงการเปิดเสรีการค้าบริการการศึกษา ถึงอย่างไรก็ตามการเติบโตในเชิงปริมาณของหลักสูตรที่เพิ่มขึ้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องใส่ใจถึงเรื่อง “คุณภาพ” และ “ความเป็นสากล” อย่างแท้จริงการพัฒนาหลักสูตรการศึกษานานาชาติให้มีคุณภาพและเป็นสากลนั้น ประเทศไทยสามารถเรียนรู้ได้จากต่างประเทศ ที่ได้พัฒนาส่งเสริมคุณภาพหลักสูตรนานาชาติจนประสบความสำเร็จและเป็นที่ยอมรับจากนานาประเทศ ซึ่งมีแนวทางที่น่าสนใจดังนี้ การจัดการศึกษานานาชาติระดับอุดมศึกษาในต่างประเทศ
ประเทศญี่ปุ่น: ส่งเสริมด้วยการให้ทุนการศึกษาแก่ชาวต่างชาติ ประเทศญี่ปุ่นได้ก่อตั้งสมาคมการศึกษานานาชาติแห่งประเทศญี่ปุ่น (AIEJ) มีวัตถุประสงค์ในการจัดสรรทุนการศึกษาระยะสั้นให้แก่นักศึกษาต่างชาติ โดยเฉพาะในระดับอุดมศึกษาปริญญาตรีและปริญญาโท สามารถเข้าศึกษาต่อในกรอบระยะเวลาตั้งแต่ 6 เดือน ถึง 1 ปี ซึ่งระยะเวลาดังกล่าวมหาวิทยาลัยในประเทศญี่ปุ่นจะเป็นผู้กำหนด ทั้งนี้เพื่อสร้างความสัมพันธ์ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมและความรู้กับมหาวิทยาลัยอื่นในประเทศต่าง ๆ เพื่อมุ่งส่งเสริมการวิจัยเป็นหลัก ผลจากการก่อตั้งสมาคมฯพบว่า ประเทศญี่ปุ่นสามารถสร้างรายได้มหาศาลจากการรับนักศึกษาต่างชาติเข้ามา ประกอบกับแรงจูงใจเรื่องการให้ทุนการศึกษา ทำให้จำนวนนักศึกษาต่างชาติมีอัตราเพิ่มสูงขึ้น นอกจากนี้ยังเป็นช่องทางในการดึงทรัพยากรบุคคลจากประเทศต่าง ๆ มีผลต่อการพัฒนางานวิจัยของประเทศญี่ปุ่นให้ดีขึ้นด้วย ประเทศสิงคโปร์: ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศการศึกษานานาชาติของประเทศสิงคโปร์เติบโตแบบก้าวกระโดด จากการปฏิรูประบบการศึกษาที่มีรากฐานมาจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ในประเทศอังกฤษ เมื่อ 40 ปีก่อน ส่งผลให้การศึกษาสิงคโปร์แข็งแกร่งจนสามารถสร้างพันธมิตรทางการศึกษากับมหาวิทยาลัยระดับต้น ๆ ของโลก ให้เข้ามามีส่วนในการวางแผนการศึกษา เขียนหลักสูตรนานาชาติ และให้คำปรึกษาแนะนำในการปรับปรุงหลักสูตรนานาชาติให้ทันสมัยตามกระแสโลก เช่น มหาวิทยาลัยจอห์นฮอบส์กิน (John Hopkins University) มหาวิทยาลัยสแตนท์ฟอร์ด (Stanford University) มหาวิทยาลัยคอลแนล (Cornell University) เป็นต้น รัฐบาลสิงคโปร์ให้ความสำคัญด้านการศึกษานานาชาติ โดยทุ่มงบประมาณ และพัฒนาหลักสูตรให้มีมาตรฐานใกล้เคียงและเทียบเท่ากับการศึกษายุโรปโดยเปิดศูนย์บริการการศึกษาสิงคโปร์ (Singapore Education Services Center: SESC) เป็นศูนย์บริการข้อมูลข่าวสารด้านการศึกษาแก่นักศึกษาต่างชาติ เช่น หลักสูตรการศึกษา การใช้ชีวิตในประเทศสิงคโปร์ การหารายได้พิเศษระหว่างเรียน และหลักสูตรอบรมพิเศษสำหรับนักศึกษาต่างชาติ อาทิ หลักสูตรพัฒนาภาษาอังกฤษ ภาษาจีน รวมถึงการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่าง ๆ ของกลุ่มนักศึกษาต่างชาติ เปิดหลักสูตรให้นักศึกษา ”ค้นหา” ตนเอง (Personal Development Courses) เป็นหลักสูตรระยะสั้นที่สิงคโปร์ต้องการพัฒนาให้นักศึกษาต่างชาติใช้เวลาว่างเพื่อค้นหาศักยภาพตนเอง ตามความสนใจ เช่น การออกแบบท่าเต้น หลักสูตรกราฟิกดีไซน์ หลักสูตรการสร้างหุ่นยนต์ เป็นต้น โดยรัฐบาลจะเชื่อมโยงกับภาคเอกชน บริษัท ห้างร้าน ให้มีส่วนสนับสนุน และอำนวยความสะดวก แก่นักศึกษาต่างชาติ โดยมีเงื่อนไขลดหย่อนภาษีแก่ภาคเอกชนที่ให้ความร่วมมือจัดตั้งหน่วยงานสนับสนุนการศึกษานานาชาติ ประเทศสิงคโปร์ให้ความสำคัญเรื่องการบริการด้านการศึกษาและการประชาสัมพันธ์การศึกษานานาชาติของสิงคโปร์ โดยจัดตั้งคณะกรรมการการท่องเที่ยวแห่งสิงคโปร์ ด้านบริการการศึกษา(Singapore Tourism Board (STB) - Education Services Division) ทำหน้าที่ประชาสัมพันธ์ ส่งเสริมการศึกษาในตลาดต่างประเทศ จัดตั้งวิสาหกิจนานาชาติแห่งสิงคโปร์ (International Enterprise Singapore (IE) ทำหน้าที่พัฒนาคุณภาพและส่งเสริมธุรกิจด้านการศึกษานานาชาติและเปิดขยายสาขาข้ามชาติ จัดตั้งองค์กรพัฒนาการศึกษาเอกชน (SPRING Singapore) ทำหน้าที่พัฒนาคุณภาพด้านการบริหารแก่สถาบันการศึกษาเอกชนในประเทศประเทศมาเลเซีย: ผลักดันการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อความเป็น “สากล”รัฐบาลมาเลเซียมีส่วนอย่างมากในการผลักดัน และออกกฎให้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ และให้เจ้าหน้าที่ที่บริการด้านการศึกษาจะต้องสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารกับนักศึกษาต่างชาติได้ ด้านการเรียนการสอน มีการผลักดันให้ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก เพื่อเสริมสร้างบรรยากาศให้เป็นสากลยิ่งขึ้น รวมถึงการสนับสนุนให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกที่ทันสมัยที่สร้างแรงดึงดูด ทำให้จำนวนนักศึกษาต่างชาติ ตัดสินใจศึกษาต่อในประเทศมาเลเซียมีจำนวนสูงขึ้นเรื่อย ๆ ทุกปี ประเทศออสเตรเลีย: พัฒนาเจ้าหน้าที่บริการ “นานาชาติ”การศึกษานานาชาติในออสเตรียนั้น ไม่เพียงเห็นความสำคัญในการพัฒนาการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติอย่างต่อเนื่องแล้ว แต่ยังให้ความสำคัญในการพัฒนาทักษะแก่บุคลากรที่ให้บริการการศึกษา เพื่อให้บุคลากรเหล่านั้นมีประสิทธิภาพ สามารถรองรับการขยายตัวของจำนวนนักศึกษาต่างชาติ เช่น ทักษะด้านภาษา ทักษะด้านเทคนิคการสอน จิตวิทยาการสอน ฯลฯ จากตัวอย่างของต่างประเทศที่ได้กล่าวมาข้างต้น สามารถนำหลักการต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้เพื่อเป็นแนวทางการพัฒนาการศึกษานานาชาติอุดมศึกษาของไทยได้ดังนี้ทำตลาดเชิงรุก มุ่งรักษาฐานตลาดเดิมและขยายตลาดใหม่ พร้อมจัดตั้งศูนย์บริการนักศึกษานานาชาติเพื่ออำนวยความสะดวก ซึ่งเป็นช่องทางหนึ่งในการเจาะตลาดของลูกค้า รวมทั้งอำนวยความสะดวกในรูปแบบต่าง ๆ เช่น หอพักนักศึกษาต่างชาติ การเดินทาง การใช้ชีวิตในประเทศไทย จัดให้มีการประชาสัมพันธ์รูปแบบต่าง ๆ ทั้งการจัดนิทรรศการการศึกษาในต่างประเทศ จัดตั้งตัวแทนสถาบันการศึกษาในต่างประเทศหรือเจรจาความร่วมมือระหว่างประเทศ เป็นต้นสร้างพันธมิตรทางวิชาการ การสร้างความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงระดับโลกเป็นหุ้นส่วนร่วมลงทุน และพัฒนาการศึกษานานาชาติ เช่น การสร้างหรือปรับหลักสูตรให้ทันสมัย การให้คำปรึกษาการจัดการศึกษานานาชาติ ซึ่งจะส่งผลต่อการยกระดับการศึกษานานาชาติให้มีมาตรฐาน รวมทั้งควรสร้างความร่วมมือกับภาคธุรกิจในการทำวิจัย เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ อันเป็นการสร้างความน่าเชื่อถือแก่สถาบันอุดมศึกษาไทยพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาและสถาบันอุดมศึกษาให้มีความเป็นสากล โดยเร่งสร้างบุคลากรด้านการศึกษาให้มีคุณภาพและเพียงพอที่จะรองรับนักศึกษาต่างชาติ โดยการฝึกอบรมหรือเพิ่มทักษะที่เป็นประโยชน์แก่บุคลากรทางการศึกษา รวมทั้งสถาบันอุดมศึกษาควรจัดโครงสร้างพื้นฐาน และสิ่งอำนวยความสะดวกให้เพียงพอ เช่น ห้องปฏิบัติการ ศูนย์คอมพิวเตอร์ ห้องสมุดนานาชาติ เป็นต้นปรับบทบาทภาครัฐให้เป็นสากล รัฐบาลควรมีการปรับปรุงแก้ไขกฎระเบียบที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาหลักสูตรนานาชาติในประเทศไทย และวางมาตรการป้องกันการเอาเปรียบจากสถาบันการศึกษาจากต่างประเทศในระดับที่เหมาะสมการพัฒนาหลักสูตรนานาชาติถือเป็นกลไกหนึ่งที่สามารถนำมาใช้ เพื่อให้การอุดมศึกษาไทยสามารถรับมือกับการเปิดเสรีทางการศึกษา ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายภาคส่วนในกาสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาคุณภาพและความเป็นสากล เพื่อให้การอุดมศึกษาไทยสามารถอยู่รอดได้ท่ามกลางการแข่งขันในด้านการศึกษาที่รุนแรงมากยิ่งขึ้น
ที่มา : วิชาการ.คอม (http://www.vcharkarn.com/)
เรื่อง : ดร।นลินี ทวีสินผู้อำนวยการสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา (ไอเอฟดี)
ข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
แบบเสนอเอกสารเชิงหลักการ (Concept Paper)
สำหรับการเสนอหัวข้อวิทยานิพนธ์ ระดับปริญญาเอก สาขาความเป็นผู้นำและบริหารการศึกษา
ของ นางสาวประภาพร บุญปลอด รหัสประจำตัว 49477040109
โดยคาดว่าจะเรียนเชิญอาจารย์ที่ปรึกษาหลัก/อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ดังต่อไปนี้
1. อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก รศ.ดร. ประกอบ คุปรัตน์
2. อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม -
3. อาจารย์ที่ปรึกษาร่วมภายนอก -
1. ชื่อเรื่องวิทยานิพนธ์
ภาษาไทย : ข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์สู่ความเป็นมหาวิทยาลัยนานาชาติ
ภาษาอังกฤษ : A PROPOSAL POLICY FOR MANAGEMENT SURINDRA RAJBHAT UNIVERSITY TO INTERNATIONAL UNIVERSITY.
2. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ในยุคขอมูลขาวสารที่ความกาวหนาทางเทคโนโลยีและการเปดเสรีทางการคาและการลงทุนระหวางประเทศ ไดเขามามีบทบาทในการขับเคลื่อนกระแสการพัฒนาประเทศเปนตนมารัฐบาลหลายประเทศไดตระหนักถึงความสําคัญของการศึกษาระดับสูงและสงเสริมใหนักศึกษามีการศึกษาในสถาบันการศึกษาในตางประเทศมากขึ้น เพื่อขยายโลกทัศนใหนักศึกษามีความเขาใจถึงวัฒนธรรม ประเพณี รวมถึงมีความสามารถในการสื่อสารไดหลายภาษาและเขาใจรูปแบบในการดําเนินธุรกิจขามพรมแดนอยางลึกซึ้ง ซึ่งจากสถิติของ OECD, British Councilและ IDP Education Australia ไดชี้ใหเห็นถึงแนวโนมและโอกาสทางเศรษฐกิจที่ดีของการศึกษานานาชาติ โดยประมาณการวาจํานวนนักศึกษาระดับอุดมศึกษาที่เดินทางออกไปศึกษาตอในตางประเทศจะมีจํานวนเพิ่มขึ้นจาก 2.12 ลานคน ในป 2546 เปน 8 ลานคน ในป 2568 หรือเพิ่มขึ้นอีก 3 เทาตัวในระยะ 20 ป ขางหนา ทั้งนี้ประเทศไทยสนใจในการพัฒนาเพื่อเสริมสรางศักยภาพและขีดความสามารถในการใหบริการดานการศึกษาระดับอุดมศึกษานานาชาติ ทั้งในเชิงคุณภาพและปริมาณ ซึ่งจะชวยพัฒนาศักยภาพของการใหบริการดาน การศึกษานานาชาติ เพื่อพรอมรับการเปดเสรีตามขอตกลงทั่วไป วาดวยการคาบริการ (General Agreement on Trade in Services: GATS) และจะชวยพัฒนาและเสริมสรางบทบาทของประเทศในการเปนศูนยกลางทางการศึกษาในระดับอนุภูมิภาคและระดับภูมิภาครวมทั้งกอใหเกิดประโยชนโดยตรงตอภาคการผลิตของประเทศทั่วทั้งประเทศ โดยเฉพาะในกลุ่มอุตสาหกรรมและบริการยุทธศาสตรหลัก ที่จะสามารถดําเนินกิจกรรมที่เปดกวางและเชื่อมโยงเป็นเครือขายกับสาขาการผลิตในอุตสาหกรรมอื่นๆ ในระดับภูมิภาคและตลาดโลกไดอยางมีประสิทธิภาพ มิติของความเปนนานาชาติในบริบทของการศึกษาที่เกิดขึ้น
มหาวิทยาลัยราชภัฏ เป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น เป็นมหาวิทยาลัยที่ได้รับการยกฐานะจากสถาบันราชภัฎ ที่สังกัดอยู่ในสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาซึ่งมีสถานภาพเหมือนกับสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ ในประเทศไทยทุกประการ คำว่าราชภัฏอันเป็นส่วนหนึ่งของคำประสมในคำว่า มหาวิทยาลัยราชภัฏ มีความหมายว่า ผู้อันพระราชาทรงเลี้ยง หรือมีความหมายว่า คนของพระราชา โดยเป็นคำที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงวินิจฉัยและได้โปรดเกล้าพร้อมทั้งพระราชทานตราประจำพระองค์ให้เป็นตราประจำสถาบันจึงอาจกล่าวได้ว่า มหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 41 แห่ง เป็น โพธิยาลัย มหาวิทยาลัยหรือเป็นสถานอบรมสั่งสอนให้เบ็ดเสร็จ ช่วยกอบกู้บ้านเมืองให้หลุดพ้นจากโมหภูมิ ดังนั้น ภารกิจสำคัญของมหาวิทยาลัยราชภัฏจึงมุ่งที่จะจัดการศึกษาให้บังเกิดผลดีแก่ชาติบ้านเมืองอย่างแท้จริง ซึ่งจะทำให้มหาวิทยาลัยต้องค้นหาและยึดความคิดและทฤษฏีใหม่ตามแนวทางของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาเป็นปรัชญานำทางในการพัฒนาประเทศ ทั้งนี้ดังที่พระองค์ท่านได้มีพระราชดำรัสไว้ว่า การให้การศึกษานั้นกล่าวโดยวัตถุประสงค์ที่แท้จริงคือ การสร้างสรรค์ความรู้ความคิด พร้อมทั้งคุณสมบัติและจิตใจที่สมบูรณ์ ให้เกิดขึ้นในตัวบุคคลเพื่อให้เขาสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ย่างมั่นคงและราบรื่น ทั้งสามารถบำเพ็ญประโยชน์สุข เพื่อตนเพื่อส่วนรวม ตามสมควรแก่อัตภาพ ผู้ทำหน้าที่ด้านการศึกษาทุกฝ่าย ทุกระดับควรจะมุ่งทำงานเพื่อวัตถุประสงค์นี้ยิ่งกว่าสิ่งอื่น (สำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ, 2545, หน้า 12)
เพื่อสนองพระราชดำรัสของพระองค์ท่าน มหาวิทยาลัยราชภัฏจึงได้ดำเนินการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยยึดหลักการสำคัญในอันที่จะเป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเพื่อสนองพระราชดำริในการนำทฤษฏีใหม่มาเป็นปรัชญานำทางในการพัฒนาประเทศนั้น ซึ่งจะเป็นการเสริมสร้างพลังปัญญาของแผ่นดิน และมีการบำรุงรักษา รวมทั้งการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของแผ่นดินอย่างสมดุลและยั่งยืนเพื่อนำไปสู่การกำหนดภารกิจสำคัญของมหาวิทยาลัยซึ่งก่อนที่จะปรับเปลี่ยนเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏ และได้ใช้พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏเมื่อปี พ.ศ. 2547 นั้น ได้มีรากฐานของพระราชบัญญัติวิทยาลัยครูและพระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏมาก่อน กล่าวคือในส่วนของพระราชบัญญัติวิทยาลัยครูมีภารกิจ โดยให้วิทยาลัยครูเป็นสถาบันการศึกษาและการวิจัย มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาวิชาการและผลิตครูถึงระดับปริญญาตรี ทำการวิจัย ส่งเสริมวิชาชีพครูและวิทยฐานะครู อาจารย์และเจ้าหน้าที่ ผู้บริหารการศึกษา ทำนุบำรุงวัฒนธรรมและให้บริการวิชาการแก่สังคม (กรมการฝึกหัดครู, 2534, หน้า 1) และพระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏมีภารกิจคือ ให้สถาบันราชภัฏเป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ทำการวิจัย ให้บริการวิชาการแก่สังคม ปรับปรุง ถ่ายทอดพัฒนาเทคโนโลยี ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ผลิตครูและส่งเสริมวิทยฐานะครู (กองการฝึกหัดครู, 2540, หน้า 2) ตามลำดับ จนปัจจุบันนี้สถาบันราชภัฏได้เปลี่ยนสถานภาพมาเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยบริหารมหาวิทยาลัย ภายใต้พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 คือให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นที่เสริมสร้างพลังปัญญาของแผ่นดิน ฟื้นฟูพลังการเรียนรู้ เชิดชูภูมิปัญญาท้องถิ่น สร้างสรรค์ศิลปวิทยา เพื่อความเจริญก้าวหน้าอย่างมั่นคงและยั่งยืนของปวงชน มีส่วนร่วมในการจัดการ การทำนุบำรุงรักษา การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงค์ให้การศึกษา ส่งเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ทำการสอน วิจัย ให้บริการวิชาการแก่สังคม ปรับปรุงถ่ายทอดและพัฒนาเทคโนโลยี ทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ผลิตครูและส่งเสริมวิทยฐานะครู (พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ, 2547, หน้า 2)
การบริหารจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อก้าวไปสูความเป็นมหาวิทยาลัยนานาชาตินอกจากกำหนดเป็นวิสัยทัศน์หรือแนวคิดในการมองการณ์ไกลแล้ว แนวคิดในการมองภาพอนาคตนั้นจะต้องนำมากำหนดให้เป็นภารกิจหรือพันธกิจ (Mission) ซึ่งจะต้องเป็นไปตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 ที่กำหนดภารกิจหรือพันธกิจไว้ สรุปได้ว่า มหาวิทยาลัยราชภัฏจะต้องมุ่งบริหารจัดการศึกษามุ่งผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ความสามารถมีความเป็นเลิศโดยใช้รูปแบบการบริหารจัดการศึกษา เช่น การพัฒนาหลักสูตร เป็นต้น มหาวิทยาลัยราชภัฏจำเป็นต้องทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมโดยการเผยแพร่ความรู้และบริการสังคมด้านศิลปวัฒนธรรมซึ่งจะกระทำควบคู่กับการบริหารจัดการด้านบริการทางวิชาการแก่สังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏมีพันธกิจที่สำคัญอย่างยิ่ง ได้แก่ การผลิตครู วิทยะฐานะครูและพัฒนาทุกวิถีทางที่จะยกฐานะครูให้มีผลงานทางวิชาการ มีผลงานสร้างสรรค์ มีคุณธรรมและจริยธรรมและดำรงตนอยู่ในฐานะปูชนียบุคคลที่สำคัญ
การบริหารจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏ หากได้ดำเนินการบริหารที่ไร้ทิศทาง ไร้วิสัยทัศน์และไม่มีการนำวิสัยทัศน์มากำหนดภารกิจหรือพันธกิจ กำหนดเป็นวัตถุประสงค์เพื่อนำไปจัดทำกรอบการวางแผนกลยุทธ์ แผนพัฒนา และแผนปฏิบัติการแล้ว ก็จะก่อให้เกิดสภาพปัญหาในการบริหารจัดการ ทำให้การบริหารจัดการเกิดภาวะชะงักงัน ทำให้การผลิตบัณฑิตไม่เป็นไปในทิศทางที่พึงประสงค์ ดังนั้นมหาวิทยาลัยราชภัฏจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องกำหนดวัตถุประสงค์ หรือกำหนดวัตถุประสงค์ของการบริหารจัดการว่า ต้องการบรรลุจุดมุ่งหมายอย่างไรซึ่งเมื่อมหาวิทยาลัยราชภัฏกำหนดวัตถุประสงค์ไว้อย่างชัดเจนแล้ว การบริหารจัดการย่อมจะก่อให้เกิดศักยภาพในการบริหาร และนำไปสู่เป้าหมายของมหาวิทยาลัยที่ตั้งไว้
จากการศึกษาข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์สู่ความเป็นมหาวิทยาลัยนานาชาติ ซึ่งเป็นภาพการบริหารจัดการอันจะเกิดในอนาคต ซึ่งถ้าหากได้มีการบริหารจัดการตามผลการวิจัยที่จะเกิดขึ้นมานี้แล้ว จะส่งผลให้มหาวิทยาลัยราชภัฏดำเนินไปในแนวทางที่มีการบริหารจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์สู่ความเป็นมหาวิทยาลัยนานาชาติ เพื่อเป็นมหาวิทยาลัยอย่างแท้จริง นอกจากนี้แล้วผู้วิจัยมีความสนใจที่ และสงสัยว่าวิธีการบริหารจัดการ ของอธิการบดี รองอธิการบดี คณบดี รองคณบดี ทีมบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์มีบทบาทมาก ต่อระดับความสำเร็จของการบริหาร ซึ่งปัจจุบันฝ่ายนิติบัญญัติได้ตราพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 มีผลบังคับใช้แล้วและได้กำหนดภารกิจให้กับมหาวิทยาลัยราชภัฏ และถ้ามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ต้องปฏิบัติภารกิจให้สำเร็จควรทำอย่างไร ควรจะเป็นรูปแบบอย่างไร จะใช้ทรัพยากรทางการบริหารที่มีอยู่ไม่ว่าจะเป็นการบริหารงานบุคคล งบประมาณ การบริหารงานทั่วไปและการบริหารงานวิชาการจะบริหารจัดการอย่างไรจึงจะทำให้การบริหารประสบผลสำเร็จ และถ้าได้ศึกษาความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิและผู้บริหารสถาบันราชภัฏเดิม ซึ่งปัจจุบันเป็นอธิการบดีที่ประสบความสำเร็จ น่าจะนำไปสู่การคิด การสังเคราะห์ การพัฒนารูปแบบการบริหารมหาวิทยาลัย ราชภัฏภายใต้กฎหมายใหม่ ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏแต่ละแห่งสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อก้าวไปสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยนานาชาติได้สำเร็จ เพราะฉะนั้นวัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้เพื่อให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลควรเป็นอย่างไร ซึ่งเป็นไปตามหลักการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี และเพื่อการประสบความสำเร็จเพื่อการบริหารจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์สู่ความเป็นมหาวิทยาลัยนานาชาติที่มั่นคงและยั่งยืนสืบไป
3. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์สู่ความเป็นมหาวิทยาลัยนานาชาติ ในองค์ประกอบด้านวิสัยทัศน์ พันธกิจ (เป้าหมาย กลยุทธ์ และตัวชี้วัด ของการบริหารทั้งโดยภาพรวมและในด้านการบริหารงานวิชาการ การบริหารงานบุคคล การบริหารงานงบประมาณ และการบริหารงานทั่วไป
4. ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
4.1 คะนึง สายแก้ว. –ข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารจัดการศึกษาปฐมวัยในจังหวัด
สุรินทร์ 2549. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น
4.2 จรัส สุวรรณเวลา. 2540. บนเส้นทางอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
4.3 ชาญชัย อาจิณสมาจาร. 2540. บริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ
4.4 ไชยยา ภาวะบุตร. –ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 2549. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น
4.5 ทองคูณ หงส์พันธ์. 2542.แนวทางการสร้างสรรค์สถาบันราชภัฏ . อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบล
4.6 พิกุล ภูมิโคกรักษ์. 2550,4.1 รูปแบบการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏ ภายใต้พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา
4.7 พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์. 2544. ร่างข้อเสนอนโยบายและแผนการปฏิรูปการผลิตและการพัฒนาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ที่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ 2542. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ
4.8 พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์. 2544. รายงานการวิจัยเรื่องภาวะวิกฤติและยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะคุรุศาสตร์ เพื่อปฏิรูปการศึกษาในแผนการศึกษาแห่งชาติ ระยะที่ 9 (พ.ศ.2545-2554). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ
4.9 พิธาน พื้นทอง. –ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาศักยภาพโรงเรียนขนาดเล็กในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2548. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น
4.10 ไพฑูรย์ สินลารัตน์. 2550. การเปลี่ยนผ่านการศึกษาเข้าสู่ยุคเศรษฐกิจฐานความรู้. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
12.13 ไพบูลย์ เปานิล. –การพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาโปรแกรมวิชาเทคโนโลยีการศึกษาสถาบันราชภัฏ. 2546. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร
12.14 วิจิตร ศรีสอ้าน. 2550. การเปลี่ยนผ่านการศึกษาเข้าสู่ยุคเศรษฐกิจฐานความรู้. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
5. ขอบเขตและประเด็นของการวิจัย
การศึกษาข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์สู่ความเป็นมหาวิทยาลัยนานาชาติ มีขอบเขตการวิจัย ดังนี้
5।1 การกำหนดขอบเขตของข้อเสนอเชิงนโยบาย เป็นข้อเสนอเชิงนโยบายที่มีองค์ประกอบต่าง ๆ ดังนี้ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย กลยุทธ์ และตัวชี้วัดของการบริหาร
5.2 การกำหนดขอบเขตของเนื้อหา กำหนดตามแนวการปฏิรูประบบบริหารการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่จัดให้มีระบบโครงสร้างและกระบวนการบริหารจัดการศึกษาที่มีเอกภาพเชิงนโยบาย มีความหลากหลายในทางปฏิบัติ กำหนดให้กระทรวงกระจายอำนาจทางการบริหารและการจัดการศึกษาไปยังเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา 4 ด้าน คือ การบริหารงานวิชาการ การบริหารงานบุคคล การบริหารการเงินและงบประมาณ และการบริหารงานทั่วไป ดังนั้น การวิจัยครั้งนี้จึงได้กำหนดขอบเขตเนื้อหาเพื่อการศึกษาใน 4 ด้าน ดังกล่าว และได้เพิ่มการบริหารงานทรัพยากรมนุษย์อีกหนึ่งด้านด้วย โดยแต่ละด้านเป็นปัญหาเร่งด่วนที่มหาวิทยาลัยราชภัฏทุกแห่งจะต้องหาแนวทางปรับปรุงเพื่อนำไปสู่การพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ได้อย่างมีรูปธรรม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อมุ่งสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยนานาชาติต่อไป
6. วิธีดำเนินการวิจัย
6.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่
1. ผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งเป็นผู้มีความรู้ความชำนาญมีประสบการณ์ในด้านการบริหารจัดการทั่วไป การบริหารวิชาการ การบริหารการวิจัย การบริหารการเงินและงบประมาณ และการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ผู้บริหาร ซึ่งเป็นผู้บริหารระดับสูงและผู้บริหารระดับกลางของทั้งหมด ผู้บริหารระดับสูง ได้แก่ อธิการบดี รองอธิการบดี ผู้ช่วยอธิการบดี ผู้บริหารระดับกลาง ได้แก่ คณบดี ผู้อำนวยการศูนย์ สำนัก หรือเทียบเท่า
กลุ่มตัวอย่าง ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่
1. ผู้ทรงคุณวุฒิ โดยผู้วิจัยได้สัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์สู่ความเป็นมหาวิทยาลัยนานาชาติ โดยผู้วิจัยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จำนวน 8 คน
2. ผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏ ซึ่งผู้วิจัยได้ใช้แบบสอบถามถามความคิดเห็นผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏที่มีต่อข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ สู่ความเป็นมหาวิทยาลัยนานาชาติ โดยผู้วิจัยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ซึ่งมีเกณฑ์พิจารณาจากความนิยมของนักศึกษาที่สมัครสอบในแต่ละปีและจำนวนอาจารย์ผู้สอน และพิจารณาขนาดของมหาวิทยาลัยซึ่งเป็นตัวแทนของมหาวิทยาลัยราชภัฏขนาดใหญ่ ขนาดกลาง ขนาดเล็ก คือมหาวิทยาลัยราชภัฏในส่วนกลางและในส่วนภูมิภาค ดังนั้น จึงได้จำนวนผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏที่เป็นตัวแทน เลือกมาได้ 5 แห่ง จำนวนผู้บริหารทั้งสิ้นจำนวน 98 คน
6.2 เครื่องมือ การวิจัยครั้งนี้เป็นระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Methodology Approach) และระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Methodology Approach) เข้าด้วยกันในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพและข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถาม ผู้วิจัยวิเคราะห์โดยใช้ค่าเฉลี่ย (X)และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ซึ่งเป็นระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ
6.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้ดำเนินการโดยขอหนังสือจากบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ เพื่อขอความอนุเคราะห์ในการตอบแบบสอบถามเพื่อการวิจัย และได้ประสานงานกับผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏที่ต้องการศึกษาเพื่อให้ได้ข้อมูลที่สมบูรณ์สำหรับการวิจัยต่อไป โดยผู้วิจัยได้ส่งและจัดเก็บรวบรวมแบบสอบถามคืนด้วยตนเอง
6.4 การวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์สู่ความเป็นมหาวิทยาลัยนานาชาติ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามแนวทางของ
(Best & Kahn, pp. 246-250)
7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากงานวิจัย
การวิจัยครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ในอนาคต ในประเด็นที่สามารถนำผลการวิจัยนี้ไปประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการมหาวิทยาลัยเพื่อก้าวไปสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยนานาชาติ และเพื่อให้เป็นไปในแนวทางที่เป็นรูปธรรม ที่มีประสิทธิภาพก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
การศึกษาระบบเปิด (Open Systems)
วิชา หลัก ทฤษฎี และปฏิบัติการบริหารการศึกษา
(Operation Analysis in Educational Administration)
นางสาวประภาพร บุญปลอด
จากการศึกษาระบบเปิด (Open Systems)
โปรดใช้ระบบเปิดเพื่อวิเคราะห์ระบบการศึกษาไทย โดยแสดงการศึกษาดังต่อไปนี้
- สภาพแวดล้อมทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี ในส่วนที่มีผลกระทบต่อระบบการศึกษาไทยทั้งในอดีต ปัจจุบัน และอนาคตจนถึงอีก 10 ปีข้างหน้า
- ผลกระทบต่อระบบการศึกษาไทย ทั้งในด้านตัวป้อน (Input) ตัวระบบการศึกษาไทย (Through put) ตัวส่งออก (Output) และข้อมูลการสะท้อนกลับ
ตอบ การศึกษาระบบเปิด (Open System) คือ การศึกษา "ขยายวง" ที่มุ่งเปิดโอกาสให้แก่ผู้เรียนโดยการขยายโอกาสทางการศึกษาไปสู่ผู้ด้อยโอกาส และกระจายโอกาสทางการศึกษาให้กว้างขวางทั่วทุกท้องถิ่น เป็นระบบที่ช่วยให้เกิดความเสมอภาคและความเป็นธรรมในโอกาสทางการศึกษา ในลักษณะ "ใครใคร่เรียน เรียน" และอยู่ที่ไหนก็เรียนได้ เพราะเป็นการศึกษาถึงบ้านและบริการถึงตัวนักศึกษา (วิจิตร ศรีสอ้าน,2525)
ดังนั้นการวิเคราะห์สภาพปัจจุบันของการศึกษาไทย ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการศึกษาไทยตามหัวข้อต่าง ๆ ได้แก่ การพัฒนานโยบายการระบบการศึกษาของประเทศไทยกับโลกปัจจุบัน
ทุกวันนี้มีนักวิชาการและบุคคลต่างๆออกมาวิเคราะห์และวิจารณ์การจัดการศึกษาของไทยมากมาย ซึ่งเสียงส่วนใหญ่เป็นไปในทางลบ ทั้งระบบการจัดการศึกษา และคุณภาพของผู้เรียน ส่วนใหญ่มุ่งไปที่การเปลี่ยนแปลงของโลกอย่างรวดเร็ว จนทำให้การศึกษาของไทยและมาตรฐานผู้เรียนของไทยก้าวไม่ทันโลก จึงสมควรที่จะหันกลับมามองและคิดใหม่ว่าเกิดอะไรขึ้น โดยวิเคราะห์นโยบายการจัดการศึกษาของไทย และพิจารณาว่ามีแนวทางใดที่จะพัฒนาการศึกษาของไทยในปัจจุบัน และวางแผนเกี่ยวกับการศึกษาในอนาคตของไทย โดยการพัฒนาต้องอยู่บนพื้นฐานของความเป็นไปได้ สอดคล้องกับความเป็นไทยในบริบทโลก ถ้าจะมาวิเคราะห์นโยบายการศึกษาไทย จะพบว่ามีกำหนดไว้ในเอกสารของทางราชการหลายแห่ง แหล่งที่สำคัญมี 4 แหล่ง คือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แผนการศึกษาแห่งชาติ แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ และนโยบายของรัฐบาลที่แถลงต่อรัฐสภา (สุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัย. 2536 :379-381) นโยบายสมัยดั้งเดิมของไทยเป็นการศึกษาตามอัธยาศัย ยังไม่มีระบบโรงเรียน การศึกษาสมัยใหม่เริ่มในรัชกาลที่ 5 เน้นผลิตกำลังคนเข้ารับราชการ นโยบายการศึกษาสมัยเริ่มการปกครองระบอบประชาธิปไตยนั้น มีการเน้นพื้นฐานการเป็นพลเมืองดี
การเรียนรู้ระบอบประชาธิปไตย ในช่วงยุคสงครามโลกเน้นความเป็นชาตินิยม หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เน้นการขยายตัวของการศึกษาในทุกระดับ ในสมัยประชาธิปไตยเปลี่ยนชื่อโครงการศึกษามาเป็นแผนการศึกษาชาติและมีการกำหนดนโยบายการศึกษาในรัฐธรรมนูญและนโยบายของรัฐบาลที่แถลงต่อสภาผู้แทนราษฎร จนกระทั่งนโยบายการศึกษาสมัยพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม มีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ กำหนดนโยบายและทิศทางของการพัฒนาการศึกษาให้สอดคล้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม มีการขยายการศึกษาทุกระดับ โดยเฉพาะระดับมัธยมศึกษา อาชีวศึกษาและอุดมศึกษา และเมื่อพิจารณานัยแห่งเจตนารมณ์บางมาตราในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้แสดงเจตจำนงของรัฐและรัฐบาลอย่างชัดเจนในเรื่องนโยบายการศึกษาของไทย โดยให้มีการปฏิรูปการศึกษาขึ้น ซึ่งถ้าวิเคราะห์องค์ประอบของนโยบายการศึกษานี้ ตามแนวทางทั้ง 4 ลักษณะ ตามโครงสร้างและกระบวนการ คือ 1. นโยบายในฐานะแม่บทของการบริหาร 2. นโยบายในฐานะส่วนหนึ่งของแผนพัฒนาการศึกษา 3. นโยบายในฐานะเป็นกรอบของการปฏิบัติ และ 4. นโยบายในฐานะเป็นกระบวนการดังนั้นจะเห็นได้ชัดเจน ว่านโยบายการศึกษามีความชัดเจนเป็นแม่บทของการบริหาร ครอบคลุมหน่วยงานทุกระดับ เป็นแม่บทของการดำเนินงานของหน่วยงานที่รับผิดชอบ และยังมีการกำหนดเงื่อนไขของระยะเวลาที่ปฏิบัติ มีความสอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาของชาติ ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจลังคม ซึ่งมีการปรับตามความเหมาะสมว่าควรเร่งพัฒนาคนอย่างไร ตั้งแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 8 จนถึงปัจจุบันฉบับที่ 10 ก็ยังคงให้ความสำคัญกับการพัฒนาคน ซึ่งหมายถึงพัฒนาการศึกษาให้ทันยุคทันการเปลี่ยนแปลงของโลก และนโยบายในฐานะที่เป็นกรอบของการปฏิบัติ คือ มีทั้งแนวทางปฏิบัติและกฎเกณฑ์ปรากฏชัดในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ส่วนในฐานะของกระบวนการ ก็คือ เมื่อมีการกำหนดนโยบาย ก็ต้องมีการนำโยบายไปปฏิบัติ เมื่อปฏิบัติก็ต้องมีการประเมินผล และนำผลย้อนกลับมาพิจารณาตัดสินว่า นโยบายควรมีพลวัต ควรปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหรือยกเลิก ซึ่งประการนี้ก็ปรากฏให้เห็นว่า เจตจำนงของผู้มีอำนาจในการกำหนดนโยบายมีการพิจารณาและปรับปรุงเปลี่ยนแปลงจริง ดังปรากฏตามวาระเมื่อมีการเปลี่ยนสมัยของรัฐบาลเปลี่ยนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สาระสำคัญของ พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติในรูปนโยบายและแผน เป็นที่เข้าใจกันแล้วว่าชัดเจน ซึ่งถ้าเปรียบนโยบายเป็นหางเสือในการเดินเรือไปตามทิศทางที่กำหนด และแผนเป็นการจัดเตรียมสัมภาระต่างๆที่ใช้ในการเดินเรือ ตลอดจนตรวจสภาพเรือก่อนออกเดินทาง นโยบายและแผนก็ดูเหมือนพร้อมที่จะนำพาการศึกษาของไทยไปสู่จุดมุ่งหมาย ถ้าพิจารณาวัตถุประสงค์ ที่ว่าจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข (มาตรา 6) โดยมุ่งปลูกจิตสำนึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รู้จักรักษาและส่งเสริมสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มีความภูมิใจในความเป็นไทย รู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ รวมทั้งส่งเริมศาสนา ศิลปวัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และความรู้อันเป็นสากล ตลอดจนอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รู้จักพึ่งพาตนเองมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง (มาตรา 7) (สำนักนโยบายและแผนการศึกษาฯ สำนักปลัดกระทรวงศึกษาธิการ, 2543) ทิศทางก็ยิ่งชัดเจน ส่วนนโยบายข้อที่ 1 คือ ความเสมอภาคของโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่เร่งจัดการศึกษาให้บุคลมีสิทธิและโอกาสเท่าเทียมกัน ในการเข้ารับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย โดยมีเป้าหมายความสำเร็จภายในไม่เกิน 5 ปี นโยบายข้อที่ 2 เป็นเรื่องการพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและประเภทการศึกษา ซึ่งก็กำหนดระยะเวลาการปฏิบัติไว้ นโยบายข้อที่ 3 เกี่ยวกับปฏิรูประบบริหารและการจัดการศึกษา ซึ่งนำไปสู่การกระจายอำนาจสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษาและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งการมีส่วนร่วมของส่วนที่เกี่ยวข้อง นโยบายข้อที่ 4 ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ทำให้เกิดการปฏิรูปกระบวนการผลิตครู การส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพ การพัฒนาบุคลากรทางด้านการศึกษาให้มีคุณภาพมาตรฐานเหมาะสมกับการเป็นวิชาชัพชั้นสูง(มาตรา 9 (4), 52) นโยบายข้อที่ 5 หลักสูตร และนโยบายข้อที่ 6 กระบวนการเรียนรู้ จะเห็นว่านโยบาย 2 ข้อนี้ทำให้เกิดการปฏิรูปการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ นโยบายข้อที่ 7 เกี่ยวกับทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษาและนโยบายข้อที่ 8 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา จากพ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซึ่งได้มีแนวทางและกติกาการจัดรูปแบบการจัดการศึกษาของชาติไว้อย่างละเอียดและครบถ้วนสมบูรณ์ จึงนำไปสู่การปฏิรูปการศึกษา 5 ด้าน ซึ่งเรียกโดยทั่วไปว่า “ปัญจปฏิรูป” (ธีระ รุญเจริญ. 2550: 9) การนำนโยบายการศึกษาไปปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ที่วางไว้มีการประเมินตลอดทั้งผู้ที่อยู่ในแวดวงวิชาการการศึกษาและบุคคลทั่วไป รวมทั้งมีนักวิชาการทำการวิจัยถึงผลของการปฏิบัติการ ซึ่งปรากฏเป็นข่าวให้รับทราบกันตลอดเวลา เพราะแนวทางหนึ่งในการกำกับนโยบายก็คือ การศึกษาข้อมูลเพื่อนำไปใช้ในการกำกับติดตามนโยบาย ที่ดูเหมือนคนในชาติแทบทุกส่วนพยายามทำหน้าที่นี้ ซึ่งก็เป็นข้อดีสำหรับผู้มีอำนาจหรือผู้มีหน้าที่ในการตัดสินใจกำหนดนโยบายจะได้มีข้อมูลประกอบการพิจารณา ดังเช่นในรัฐบาลปัจจุบันที่มี ศ.ดร.วิจิตร ศรีสะอ้าน เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ที่มีวาระการทำงานเพียง 1 ปี ได้แถลงนโยบายทิศทางการปฏิรูปการศึกษา ว่าในช่วงเวลาประมาณ 1 ปีจะต้องทำงานด้านการศึกษาให้เป็นรูปธรรม โดยทบทวน 3 ประเด็นหลัก อันเป็นที่มาของนโยบายการศึกษา ดังนี้
1. การปรับแก้ไขปัญหาอุปสรรคการปฏิรูปการศึกษาของรัฐบาลที่แล้ว ได้แก่ การจัดอัตรารับรองข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาและปัญหาเงินวิทยฐานะ
2 การเสริมเติมเต็มการปฏิรูปการศึกษาให้เดินทั้งระบบและครบกระบวนการ
3. ปรับแต่งให้การปฏิรูปการศึกษาสอดคล้อง-สนองตอบต่อการเปลี่ยนแปลง และได้นำ 3 ส่วนนี้มากำหนดเป็นนโยบายปฏิรูปการศึกษา 6 ประการ ซึ่งได้แก่ 1. เร่งรัดการปฏิรูปการศึกษาโดยยึดคุณธรรมนำความรู้ 2. ขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐานของประชาชนให้กว้างขวางและทั่วถึง โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย 3. พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ 4. กระจายอำนาจไปสู่เขตพื้นที่และสถานศึกษา 5. การมีส่วนร่วมของประชาชน ภาคเอกชนและท้องถิ่น 6. การพัฒนาการศึกษาในพื้นที่พัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ (สร.สาร สำนักงานรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ.7 พ.ย. 2549:1-5)
แต่ในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมา โลกดูเหมือนจะถูกย่อให้เล็กลงด้วยวิทยาการก้าวหน้าด้านการสื่อสารโดยเฉพาะอย่างยิ่งเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้กลายเป็นโลกไร้พรมแดน และทำให้คนบนโลกทีการติดต่อสื่อสารกันอย่างรวดเร็ว นำไปสู่การผสมผสานความคิด ค่านิยม ตลอดจนวิถีชีวิตความเป็นอยู่ระหว่างมวลมนุษยชาติหรือที่เรียกว่า “โลกาภิวัตน์” ที่นำโลกเข้าสู่ยุคแห่งการจัดระเบียบทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองระหว่างประเทศใหม่ อันมีผลกระทบต่อทุกชาติ ทุกภาษารวมทั้งประเทศไทย ถึงแม้กระแสโลกาภิวัตน์จะมีประโยชน์มากมายแต่ก็นำมาซึ่งสิ่งไม่ดีที่แฝงมาด้วย และก่อให้เกิดโทษมากมาย ที่เป็นประเด็นถกเถียงกันทุกวันนี้ มีข่าวและประเด็นต่างๆที่มีผู้นำเสนอผลงานวิจัยบ้าง ออกมาวิจารณ์แสดงความคิดเห็นบ้าง ถึงความล้มเหลวของระบบการศึกษาไทย ทั้งการปฏิรูปการศึกษาที่ยังไม่ประสบผลสำเร็จ คุณภาพผู้เรียนตกต่ำ ปัญหาครูไม่มีคุภาพ หลักสูตรไม่สอดคล้องกับความต้องการบ้าง ซึ่งผลงานส่วนใหญ่กระทรวงศึกษาก็รับไปเต็มๆ เช่น ตัวอย่างข่าวการศึกษา (คม-ชัด-ลึก 17 สิงหาคม 2550) ระบบการศึกษาไทยขาดการจัดการที่ดี มหาวิทยาลัยถูกคุมเข้ม-หลักสูตรไม่ได้มาตรฐาน
ในระยะเวลาที่ผ่านมาสำหรับการศึกษาของไทย มีทั้งส่วนที่ประสบผลสำเร็จและส่วนที่ยังเป็นปัญหา โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เนื่องจากโลกาภิวัตน์มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมของไทย คงต้องใช้เวลาในการพัฒนาต่อไป โดยเร่งสร้างเร่งพัฒนาผู้นำทางการศึกษา ผู้นำการเปลี่ยนแปลง ปฏิรูปรูปแบบการเรียนการสอนใหม่เพื่อสร้างคุณภาพให้ผู้เรียนที่จะต้องก้าวให้ทันการเปลี่ยนแปลงของโลก เพราะไม่มีนโยบายใดที่นำไปปฏิบัติแล้วได้ผลเต็มร้อยเปอร์เซ็นต์ในทันที และใช่ว่าประเทศอื่นจะไม่ประสบปัญหา เพราะประเด็นปัญหาที่หลายประเทศต้องเผชิญ เมื่อนำนโยบายด้านการศึกษาโดยเฉพาะการปฏิรูปการศึกษาไปใช้ในการกระจายอำนาจการบริหารสถานศึกษาสู่โรงเรียน โดยปัญหาที่พบมากได้แก่ความมีอิสระในการบริหารตนเอง กับความจำเป็นที่ต้องมีการตรวจสอบ การกระจายอำนาจการบริหารกับความเสมอภาคทางการศึกษา การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีและวัฒนธรรม การกระจายอำนาจการบริหารกับผลที่ได้รับ รวมถึงการลดขนาดหน่วยงานกลางลงเมื่อมีการกระจายอำนาจซึ่งปัญหาก็ขึ้นกับบริบทของประเทศ ทั้งนี้การจะแก้ปัญหาต้องพิจารณาแนวทางที่เหมาะสม พิจารณาถึงความเป็นไปได้ของประเทศไทย
การวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กร (SWOT)
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กรทางการศึกษา เพื่อศึกษาแนวโน้มการพัฒนาการศึกษาให้มีความเหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนท้องถิ่น โดยแนวโน้มการพัฒนาการศึกษาขององค์กรทางการศึกษาต้องมีความเป็นไปได้ในการพัฒนาตามเงื่อนไขข้อจำกัดและองค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษา ซึ่งได้แก่ นโยบายในการจัดการศึกษาของหน่วยงาน ต้นสังกัด รูปแบบการบริหารงานขององค์กรทางการศึกษา และปัจจัยทีเกี่ยวข้องอื่น การศึกษาความต้องการของชุมชน เป็นการสำรวจความต้องการขององค์กรชุมชนที่องค์กรทางการศึกษาตั้งอยู่ความต้องการของผู้ปกครองนักเรียน และความต้องการของชาวบ้านในชุมชนสรุปมาเป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชน การวิเคราะห์สภาพขององค์กรทางการศึกษาเพื่อกำหนดแนวทางในการพัฒนาการศึกษาจะต้องวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดจากปัจจัยต่างๆ ด้วยเรียกว่า SWOT Analysis ซึ่งได้แก่ Strengths – จุดแข็งหรือข้อได้เปรียบ Weaknesses – จุดอ่อนหรือข้อเสียเปรียบ Opportunities - โอกาสที่จะดำเนินการได้ และThreats - อุปสรรค หรือปัจจัยที่คุกคามการดำเนินงาน
การวิเคราะห์ SWOT อาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเป็นการทำ Situation Analysis เป็นการวิเคราะห์สภาพองค์การ หรือหน่วยงานในปัจจุบัน เพื่อค้นหาจุดแข็ง จุดเด่น จุดด้อย หรือสิ่งที่อาจเป็นปัญหาสำคัญในการดำเนินงานสู่สภาพที่ต้องการในอนาคต การวิเคราะห์สภาพการณ์ (Situation Analysis) วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน เพื่อให้รู้ตนเอง (รู้เรา) รู้จักสภาพแวดล้อม (รู้เขา) ชัดเจน และวิเคราะห์โอกาส-อุปสรรค เพื่อประโยชน์ในการกำหนดวิสัยทัศน์ หรือเลือกกลยุทธ์ระดับองค์กรที่เหมาะสมต่อไป ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับการทำ Strategic Decision การทำ Strategic Decision เป็นการตัดสินใจเลือกกลยุทธ์หรือวิธีดำเนินงานที่สำคัญ และเป็นหลักในการปฏิบัติไปสู่สภาพที่ต้องการในอนาคตขององค์การ เพื่อการบรรลุ Vision หรือสภาพในอนาคตตามที่ได้กำหนดไว้ ซึ่งเป็นการเลือกโดยคำนึงถึงสภาพในอนาคต โดยคำนึงถึงจุดที่ต้องการ โดยรู้สถานการณ์ เห็นถึงโอกาสและรู้จุดดีจุดเด่นตลอดจนจุดอ่อนในการดำเนินงานไปสู่จุดหมายที่ต้องการขององค์การในอนาคตเป็นการค้นหากลยุทธ์โดยหลักการ มองกว้าง เห็นไกล รอบคอบ ตามหลักการกำหนดกลยุทธ์ในแบบต่าง ๆ กลยุทธ์เชิงรุก กลยุทธ์เพื่อความเจริญก้าวหน้า (Growth Strategy) กลยุทธ์แบบคงที่ (Stability Strategy) กลยุทธ์แบบตัดทอนป้องกัน (Retrenchment and Defense Strategy) กลยุทธ์การตั้งราคา-การขาย กลยุทธ์การแข่งขัน กลยุทธ์การเป็นผู้นำ กลยุทธ์ในการสร้างความแตกต่างของผลิตภัณฑ์และบริการกลยุทธ์การจำกัดขอบเขตปฏิบัติการเป็นต้น
การกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์และยุทธศาสตร์ขององค์การวิสัยทัศน์ (Vision) คือ ภาพในอนาคตขององค์กรที่ผู้นำและสมาชิกทุกคนร่วมกันวาดฝัน
หรือจินตนาการขึ้นโดยมีพื้นฐานอยู่บนความเป็นจริงในปัจจุบันเชื่อมโยงวัตถุประสงค์ ภารกิจ ค่านิยม และความเชื่อเข้าด้วยกัน พรรณนาให้เห็นทิศทางขององค์กรอย่างชัดเจน มีพลังท้าทาย ทะเยอทะยาน และมีความเป็นไปได้ เน้นถึงความมุ่งมั่นที่จะทำสิ่งที่ยิ่งใหญ่ หรือดีที่สุดให้กับลูกค้าและสังคม วิสัยทัศน์จะเกี่ยวกับการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ เป็นการตัดสินใจเกี่ยวกับการกำหนดทิศทางธุรกิจ เป็นการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับการอยู่รอดทางธุรกิจ ซึ่งจะกล่าวถึงอีกครั้งในเรื่องยุทธศาสตร์ขององค์การ
จุดที่ต่อมาจากการกำหนดวิสัยทัศน์คือ กลยุทธ์ในการทำงาน ซึ่งหากนำเอาผลของ SWOT
มาขยายจะได้ว่า S จุดที่จะต้องทำ W จุดที่จะต้องหลีกเลี่ยงหรือปรับปรุง O จุดที่จะนำมาใช้ประโยชน์ หรือจุดเปิดสู่การปฏิบัติใหม่ๆ และ T จุดที่จะหลีกเลี่ยงในการปฏิบัติ หรือปรับให้เป็นโอกาส
ดังนั้น วิสัยทัศน์ โดยปกติแล้ว จะเป็นตัวบอกความคาดหวังในอนาคตระยะ 10 – 15 ปีข้างหน้า วิสัยทัศน์จึงต้อง 1) แสดงจุดมุ่งมั่นในระยะยาวที่ค่อนข้างแน่นอน (ระยะกลางเป็นหลักกลยุทธ์ ระยะยาวเป็นหลักยุทธศาสตร์) 2) มีเจตนารมย์ (สิ่งที่ต้องการให้เกิด) ที่ชัดเจน และ จำได้ง่าย เพราะจะทำให้บุคลากรจำได้และนำไปใช้ในทางปฏิบัติ สรุปได้คือ ลักษณะของวิสัยทัศน์ต้อง : จูงใจ ระดมความคิดระดมพลังใจ ปลุกเร้าการเขียนวิสัยทัศน์ : สั้น ง่าย ให้พลัง ทั้งนี้การเขียนพันธกิจ ภารกิจ และเป้าประสงค์ขององค์การก็เช่นเดียวกัน
แนวทางการปฏิรูปการศึกษาระดับอุดมศึกษาของไทย
กระแสการปฏิรูปอุดมศึกษาที่เกิดขึ้นในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก นอกจากเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม เทคโนโลยีและวัฒนธรรม จากกระแสโลกาภิวัฒน์ (Golobalization) แล้ว ปัจจัยสำคัญที่เป็นแรงผลักดันให้มีการปฏิรูปอุดมศึกษาทั่วโลก ยังเกิดจากสาเหตุที่สำคัญประกอบด้วย การขยายตัวของปริมาณนักศึกษาและความต้องการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาที่มากขึ้นทั่วโลกกว่า 6 เท่าในรอบ 3 ทศวรรษ ความเจริญก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามความคาดหวังของสังคมที่มีต่ออุดมศึกษาในฐานะกลไกสำคัญในการพัฒนาศักยภาพทรัพยากรมนุษย์เพื่อการแข่งขันกับนานาชาติ ปัญหาด้านคุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษาไม่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ว่าจ้างงานและสภาพจำกัดทางด้านงบประมาณจากภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 รวมทั้งแนวทางต่าง ๆ ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ทำให้ต้องมีการปฏิรูปทางการศึกษาและอุดมศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม
ปี พ.ศ. 2542 ได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการจัดทำแนวทางการปฏิบัติอุดมศึกษา ทั้งนี้โดยมีศาสตราจารย์นายแพทย์เกษม วัฒนชัย เป็นประธานกรรมการและกรรมการประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิ อธิการบดี ผู้บริหารระดับสูง นักวิชาการ คณาจารย์และผู้แทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้งสิ้น 22 คน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับอุดมศึกษา ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัญหาและแนวโน้มความต้องการระดับอุดมศึกษา เพื่อจัดทำข้อเสนอแนวทางปฏิรูปอุดมศึกษา (สำนักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย, 2545,หน้า5)
การดำเนินงานนอกจากมีการเสนอสถานภาพปัญหา อุปสรรค และความต้องการการพัฒนาของสถาบันอุดมศึกษาแต่ละสังกัด โดยผู้แทนจากแต่ละหน่วงงาน รวมทั้งการประเมินสัมฤทธิผลและปัญหาอุปสรรคการพัฒนาอุดมศึกษาโดยรวมในช่วงแผนฯที่ผ่านมาแล้วนั้น ยังมีการศึกษาวิจัยเอกสาร (Documentary Research) การปฏิรูปอุดมศึกษาในต่างประเทศ ได้แก่ การปฏิรูปอุดมศึกษาของประเทศอังกฤษ ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น สิงคโปร์ มาเลเซีย และสหรัฐอเมริกาการอุดมศึกษาของฮ่องกงและทิศทางการปฏิรูปอุดมศึกษาในศตวรรษที่ 21 จากผลการประชุมระดับโลก
ผลจากการศึกษาวิเคราะห์ประเด็น วิจัย และประชุมระดมความคิดอย่างกว้างขวาง ที่ประชุมได้กำหนดประเด็นสำคัญเป็นกรอบแนวคิด (Conceptual Framework) ในการปฏิรูปอุดมศึกษารวม 10 ประเด็น ได้แก่ รูปแบบ/ประเภทสถาบันการศึกษาระดับอื่น ๆ และระบบอื่น ๆ ของสังคมการระดมทรัพยากรเพื่ออุดมศึกษา อุดมศึกษาเพื่อปวงชน โครงสร้างและการบริหารจัดการอุดมศึกษา ผู้บริหาร คณาจารย์ และบุคลากรทางการอุดมศึกษา คุณภาพมาตรฐานและการประกันคุณภาพการอุดมศึกษา การเสริมสร้างความเข้มแข็งในการดำเนินภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา และบทบาทอุดมศึกษาในการสร้างพุทธิปัญญา (Wisdom) จากนั้นได้มีการศึกษาวิจัย และจัดทำรายงานเชิงแนวคิด (Concept Paper) ในประเด็นดังกล่าวรวมทั้งรายงานเกี่ยวกับการบริหารจัดการอุดมศึกษาเพื่อการเปลี่ยนแปลงไปสู่โครงสร้างใหม่ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 (Transition management Issues) และได้มีการจัดสัมมนาทางวิชาการ “สู่เส้นทางการปฏิรูปอุดมศึกษาไทย” เพื่อรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการปฏิรูปอุดมศึกษาไทยอีกหลายครั้งสรุปผลจากการดำเนินงานทั้งหมดได้นำมาสังเคราะห์ และจัดทำรายงานสรุปผลเรื่อง “แนวทางการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542” ขึ้น ประกอบด้วยแนวทางหลักๆ ในการปฏิรูปรวม 3 แนวทาง ได้แก่ การปฏิรูปอุดมศึกษา การปฏิรูปโครงสร้างการบริหารอุดมศึกษา และการปฏิรูปการบริหารจัดการสถาบันอุดมศึกษา
สำหรับการปฏิรูประบบอุดมศึกษาให้ยึดหลักเอกภาพทางด้านนโยบายและความหลากหลายทางการปฏิบัติ โดยมีองค์กรระดับประเทศทำหน้าที่กำหนดนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษา สนับสนุนทรัพยากรรวมทั้งติดตามตรวจสอบและประเมินผล สำหรับส่วนการจัดการศึกษาให้มีความหลากหลาย อีกทั้งมีความยืดหยุ่นและมีจุดเน้นที่แตกต่างกันตามความพร้อมและความชำนาญของ แต่ละสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ ระดับต่ำกว่าปริญญาตรีและระดับปริญญามีการจัดระบบเป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ อีกทั้งยังมีที่เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สถาบันอุดมศึกษาเฉพาะทาง และสถาบันอุดมศึกษาท้องถิ่น
สำหรับการปฏิรูปโครงสร้างการบริหารระดับอุดมศึกษา ยึดหลักเอกภาพด้านนโยบายและมาตรฐานการกระจายอำนาจ การบริหารและการจัดการทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคลและการบริหารงานทั่วไป ไปสู่เขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา โดยให้สถาบันอุดมศึกษาระดับปริญญามีความอิสระคล่องตัวในการดำเนินงาน มีเสรีภาพทาวิชาการเพื่อความเป็นเลิศ
แนวทางการจัดโครงสร้างการบริหารอุดมศึกษา ซึ่งแบ่งเป็น 3 ส่วน ดังนี้
ระดับประเทศ ซึ่งมีกระทรวงศึกษาธิการ เป็นองค์กรระดับประเทศ ทำหน้าที่กำหนดนโยบาย แผนและมาตรฐานการศึกษา สนับสนุนทรัพยากร ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลนั้น มีองค์กรหลัก 2 องค์กร ทำหน้าที่กำกับดูแลการศึกษาระดับอุดมศึกษา ประกอบด้วย สภาการศึกษา ซึ่งกำกับดูแลการศึกษาในภาพรวมทุกระดับและคณะกรรมการการอุดมศึกษา กำกับดูแลอุดมศึกษาโดยตรงดูแลอุดมศึกษาโดยตรง
ระดับเขตพื้นที่การศึกษา รับผิดชอบกำกับดูแลอุดมศึกษาระดับต่ำกว่าปริญญาตรี
ในระดับสถานศึกษา นั้นสถานศึกษาที่จัดอุดมศึกษาซึ่งเป็นนิติบุคคลให้ขึ้นตรงต่อสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาทั้งหมด โดยภายใต้การกำกับดูแลของสภาการศึกษาแต่ละแห่ง ส่วนสถาบันอุดมศึกษาเฉพาะทางในสังกัดกระทรวงอื่น ๆ และสถาบันอุดมศึกษาของท้องถิ่นให้อยู่ภายใต้กำกับของหน่วยงานนั้นๆ โดยคำนึงถึงความพร้อมโดยคำนึงถึงความเหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการ การมีส่วนร่วมและการระดมทรัพยากรจากภายในท้องถิ่นเป็นสำคัญด้วย
นอกจากนี้ให้มีองค์กรอิสระในส่วนกลาง อาทิเช่น สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาทำหน้าที่พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และทำการประเมินผลการจัดการศึกษา สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาทำหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผน ส่งเสริมและประสานการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาองค์กรวิชาชีพครู ผู้บริหารการศึกษาทำหน้าที่กำหนดมาตรฐานวิชาชีพกำกับดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานจรรยาบรรณและพัฒนาวิชาชีพ เป็นต้น
สถาบันอุดมศึกษาในศตวรรษใหม่นี้ นอกจากจะมีอิสระและความคล่องตัวในการบริหารจัดการแล้ว คุณภาพนับเป็นจุดเน้นที่สำคัญของอุดมศึกษาที่พึงปรารถนา ดังนั้น การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานอุดมศึกษา นอกจากแต่ละสถาบันต้องจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายใน และต้องได้รับการประเมินคุณภาพจากภายนอก ตามที่กฎหมายกำหนดตามหลักเกณฑ์และวิธีการแล้วต้องมีการกำหนดมาตรฐานกลางเพื่อการรับรองหลักสูตร ที่เป็นมาตรฐานเดียวกันทั้งสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ นอกจากนี้ต้องส่งเสริมให้องค์การ สมาคมวิชาการ/วิชาชีพ ทั้งภาครัฐและเอกชนเข้ามามีบทบาทในการกำกับดูแลคุณภาพและมาตรฐานอุดมศึกษามีการพัฒนาระบบข้อมูล
พัฒนาตัวชี้วัดคุณภาพ (Indicators) ตลอดจนสนับสนุนให้มีการจัดระดับ (Rating) หรือจัดอันดับ (Ranking) สถาบันอุดมศึกษาเพื่อเป็นกลไก กระตุ้นในการพัฒนาคุณภาพและเป็นข้อมูลในการเลือกรับบริการของผู้ประสงค์จะเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษา ตลอดจนผู้ใช้ผลผลิตของสถาบันเป็นต้น
ส่วนการเตรียมการปฏิรูปอุดมศึกษาไปสู่การเปลี่ยนแปลง (Transition Management) ตามที่กำหนดในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 นั้นนอกจากจะต้องมีการจัดโครงสร้างการบริหารอุดมศึกษาแบบใหม่ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติดังกล่าวแล้ว จะต้องมีการกำหนดแนวปฏิบัติประเด็นต่างๆ อันเกี่ยวเนื่องกัน ทั้งในด้านการบริหารวิชาการ การบริหารงบประมาณ และการบริหารงานบุคคล อันได้แก่การเตรียมการให้สถาบันอุดมศึกษาระดับปริญญาที่มีความพร้อมออกนอกระบบอย่างเป็นระบบ การจัดให้มีระบบรับรองมาตรฐานหลักสูตรการรับรองมาตรฐานและการประเมินคุณภาพสถาบันอุดมศึกษากลไกการรับนักศึกษาและการเทียบโอนผลการเรียน เกณฑ์การจัดตั้งและรับรองวิทยฐานะของสถาบัน การเรียกชื่อปริญญา การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อให้เป็นมาตรฐานและแนวทางปฏิบัติร่วมกันสำหรับสถาบันอุดมศึกษาต่อไป (สำนักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย,2545, หน้า 5-8)
สรุปได้ว่า การปฏิรูปอุดมศึกษาตามแนวทางที่เสนอ จะประสบความสำเร็จมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ ได้แก่ กระแสสังคมที่เป็นความสำคัญ การมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของผู้ที่เกี่ยวข้อง การร่วมมือประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ นโยบายของรัฐบาลที่ชัดเจนและต่อเนื่อง การพัฒนาขีดความสามารถ (Capacity Building) ในการดำเนินงาน โดยเฉพาะส่วนที่เป็นปัจจัยพื้นฐานการสนับสนุนทางด้านงบประมาณ และตลอดจนการนำเสนอไปสู่การจัดทำแผนปฏิบัติการปัจจัยดังกล่าวย่อมเกิดให้เตรียมความพร้อมและเตรียมรับเพื่อป้องกันปัญหาและอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้น
ผลกระทบต่อระบบการศึกษาไทย ทั้งในด้านตัวป้อน (Input) ตัวระบบการศึกษาไทย (Through put) ตัวส่งออก (Output) และข้อมูลการสะท้อนกลับ
องค์ประกอบของระบบ ไม่ว่าระบบใดๆในปัจจุบัน ประกอบด้วยองค์ประกอบสำคัญ 7 ประการ ได้แก่ 1. วัตถุประสงค์ ( Goal ) 2. สิ่งนำเข้า ( Input ) 3. กระบวนการ ( Process หรือ through put) 4. สิ่งนำออก (Output) 5. การส่งข้อมูลย้อนกลับ (Feed back) 6. การควบคุม ( Control ) 7. สิ่งแวดล้อม ( Environment ) การทำงานที่สัมพันธ์ขององค์ประกอบทั้ง7 จะมีวัตถุประสงค์ของระบบเป็นตัวกำหนดความสัมพันธ์ ตัวอย่างแสดงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่าง ๆ ดังแสดงในภาพ
ภาพ ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่าง ๆ ในระบบ
เอกสารประกอบการสอน Powerpoint รายวิชา ประมวลการสอนรายวิชา การวิเคราะห์รูปแบบปฏิบัติการในการบริหารการศึกษา(Operation Analysis in Educational Administration) โดย รศ.ดร.ประกอบ คุปรัตน์
เอกสารอ้างอิง
กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ. กรุงเทพฯ : องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (รสพ.)
การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาทางการศึกษา ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก : แนวโน้มและประเด็นสำคัญ Educational Change and Development in the Asia-Pacific region : trends and issues . กรุงเทพมหานคร:ห้างหุ้นส่วนจำกัด ฟันนี่พลับบลิชชิ่ง. สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ. 2549.
ความเป็นมืออาชีพในการจัดการและบริหารการศึกษา ยุคปฏิรูปการศึกษา . กรุงเทพมหานคร: บริษัท แอล.ที.เพรส. จำกัด. วิตร ศรีสอ้าน. 2544.
งานจัดการฐานข้อมูล กลุ่มพัฒนาระบบสารสนเทศ ศูนย์สารสนเทศ สำนักปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ. 2549. แหล่งที่มา: www.moe.go.th. เรื่องการศึกษาของไทยในอดีต. ไพฑูรย์ สินลารัตน์. 2550.
แนวคิดและหลักการเกี่ยวกับนโยบาย และประมวลสาระชุดวิชานโยบายและการวางแผนการศึกษา .พิมพ์ครั้งที่ 3.นนทบุรี: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ศูนย์ความสัมพันธ์และความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อปฏิรูปการศึกษา.สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. 2543.
นโยบายทิศทางการปฏิรูปการศึกษา :ยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ. สร.สาร. 7 (พฤศจิกายน):1-5. สำนักนโยบายและแผนการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. 2543.
การวิเคราะห์ พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติในรูปแบนโยบายและแผน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์การ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2546). ประมวลสาระชุดวิชา ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 13-15. ระบบการศึกษาไทย. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สำนักนายกรัฐมนตรี. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.
สำนักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย. (กันยายน 2545). อนุสารอุดมศึกษา และแนวทางปฏิรูปอุดมศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย ประมวลผลงานตามนโยบายรัฐบาลของทบวงมหาวิทยาลัย. 28(291), 5-8
อาจารย์มืออาชีพ : แนวคิด เครื่องมือ และการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: เครือข่ายการพัฒนาวิชาชีพอาจารย์และองค์กรระดับอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย. ธีระ รุญเจริญ. 2550.
แนะนำตนเอง
Name: Prapaporn Boonplord
Address: 186/1 Surin – Prasat Road, Muang district, Surin, 32000
Telephone: 0840382882
E-Mail : airthecorr@hotmail.com
Nationality: Thai
Date of birth: 19 January 1977
Marital status: Single
Education/Qualifications
2003-2005 Ramkhamhaeng University (RU), Thailand :
Master of Art Major in Mass Communication Technology.
1995-2002 Ramkhamhaeng University (RU), Thailand :
Bachelor of Art Major in Mass Communication.
Minor Audio – Visual Education.
Employment to date
2005-present Business Computer Program,
Faculty of Management science,
Surindra Rajabhat University, Surin, Thailand 32000
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)